THE DEVELOPMENT OF AN INSTRUCTIONAL MODEL BASED ON CONNECTIVISM THEORY AND PHENOMENON-BASED LEARNING TO ENHANCE CHARACTERISTICS OF ACTIVE CITIZENSHIP AND MEDIA LITERACY SKILLS OF UNDERGRADUATE STUDENTS
การพัฒนารูปแบบการสอนตามทฤษฎีเชื่อมโยงความรู้ร่วมกับแนวคิดการใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานเพื่อส่งเสริมคุณลักษณะความเป็นพลเมืองเข้มแข็งและทักษะการรู้เท่าทันสื่อของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา
dc.contributor | Pasuda PAKAPOL | en |
dc.contributor | ภาสุดา ภาคาผล | th |
dc.contributor.advisor | Siriwan Vanichwatanavorachai | en |
dc.contributor.advisor | ศิริวรรณ วณิชวัฒนวรชัย | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Education | en |
dc.date.accessioned | 2024-04-18T17:04:44Z | |
dc.date.available | 2024-04-18T17:04:44Z | |
dc.date.issued | 25/11/2022 | |
dc.identifier.uri | https://sure.su.ac.th/xmlui/handle/123456789/28022 | |
dc.description.abstract | The purposes of this research were to: 1) develop an instructional model based on connectivism theory and phenomenon-based learning to enhance characteristics of active citizenship and media literacy skills of undergraduate students and 2) evaluate the effectiveness of instructional model based on connectivism theory and phenomenon-based learning to enhance characteristics of active citizenship and media literacy skills of undergraduate students. The sample was 34 undergraduate students who enrolled in CSO2213 Civic Education class in the first semester of the academic year 2021. The research instruments were the instructional model, lesson plans, and the instructional model effectiveness evaluation forms were active citizenship evaluation form, media literacy skills evaluation form, Activity/Project assessment form, learning journal and CSO2213 test. The quantitative data were analyzed by mean, standard deviation and repeated measures ANNOVA while the qualitative data were analyzed by content analysis. The research findings were as follows: 1. The instructional model based on connectivism theory and phenomenon-based learning to enhance characteristics of active citizenship and media literacy skills of undergraduate students, in other words, “Civic Ed Model” consisted of six components; 1) principle 2) objectives 3) instructional process consisting of six steps as follow 3.1) Creating Mutual Understanding 3.2) Interconnecting with Phenomenon 3.3)Verifying Obtained Information 3.4) Initiating Activity or Project 3.5) Conducting Designed Activity or Project and 3.6) Evaluating and Disseminating 4) social system 5) support system and 6) evaluation and assessment. The instructional model was evaluated by experts and found that the appropriateness was at the highest level. (x̅=4.60-5.00, S.D.= 0.00-0.55) 2. The effectiveness of the instructional model “Civic Ed Model”, the result revealed that the students had continuously developed their overall active citizenship and media literacy skills at a high level. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) พัฒนารูปแบบการสอนตามทฤษฎีเชื่อมโยงความรู้ร่วมกับแนวคิดการใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานเพื่อส่งเสริมคุณลักษณะความเป็นพลเมืองเข้มแข็งและทักษะการรู้เท่าทันสื่อของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ และ 2) ประเมินประสิทธิผลการใช้รูปแบบการสอนตามทฤษฎีเชื่อมโยงความรู้ร่วมกับแนวคิดการใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานเพื่อส่งเสริมคุณลักษณะความเป็นพลเมืองเข้มแข็งและทักษะการรู้เท่าทันสื่อของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา CSO2213 พลเมืองศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 34 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย รูปแบบการสอน แผนการจัดการเรียนรู้ และเครื่องมือประเมินประสิทธิผลการใช้รูปแบบการสอนประกอบด้วยแบบวัดคุณลักษณะความเป็นพลเมืองเข้มแข็ง แบบวัดทักษะการรู้เท่าทันสื่อ แบบประเมินกิจกรรมหรือโครงการ แบบบันทึกการเรียนรู้ และแบบทดสอบรายวิชา CSO2213 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์อนุกรมเวลา และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการสอนตามทฤษฎีเชื่อมโยงความรู้ร่วมกับแนวคิดการใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานเพื่อส่งเสริมคุณลักษณะความเป็นพลเมืองเข้มแข็งและทักษะการรู้เท่าทันสื่อของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา (Civic Ed Model) มี 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) ขั้นตอนการสอน มี 6 ขั้น ประกอบด้วย 3.1) การสร้างความเข้าใจให้แก่ผู้เรียน 3.2) การเชื่อมโยงความรู้ด้วยปรากฏการณ์ 3.3) การเสาะแสวงหาความรู้ 3.4) การออกแบบโครงร่างหรือกิจกรรม 3.5) การดำเนินการตามโครงการหรือกิจกรรม 3.6) การประเมินผลการเรียนรู้ 4) ระบบสังคม 5) ระบบสนับสนุน และ 6) การวัดและประเมินผล ซึ่งประเมินคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญพบว่า มีความเหมาะสมและสอดคล้องอยู่ในระดับมากที่สุด (x̅=4.60-5.00, S.D.= 0.00-0.55) 2. ประสิทธิผลการใช้รูปแบบสอนตามทฤษฎีเชื่อมโยงความรู้ร่วมกับแนวคิดการใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานเพื่อส่งเสริมคุณลักษณะความเป็นพลเมืองเข้มแข็งและทักษะการรู้เท่าทันสื่อของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาพบว่า นักศึกษามีพัฒนาการคุณลักษณะความเป็นพลเมืองเข้มแข็งและทักษะการรู้เท่าทันสื่อในภาพรวมสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องอยู่ในระดับมาก | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | รูปแบบการสอน | th |
dc.subject | ทฤษฎีเชื่อมโยงความรู้ | th |
dc.subject | แนวคิดการใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน | th |
dc.subject | คุณลักษณะความเป็นพลเมืองเข้มแข็ง | th |
dc.subject | ทักษะการรู้เท่าทันสื่อ | th |
dc.subject | INSTRUCTIONAL MODEL | en |
dc.subject | CONNECTIVISIM THEORY | en |
dc.subject | PHENOMENON-BASED LEARNING | en |
dc.subject | ACTIVE CITIZENSHIP | en |
dc.subject | MEDIA LITERACY SKILLS | en |
dc.title | THE DEVELOPMENT OF AN INSTRUCTIONAL MODEL BASED ON CONNECTIVISM THEORY AND PHENOMENON-BASED LEARNING TO ENHANCE CHARACTERISTICS OF ACTIVE CITIZENSHIP AND MEDIA LITERACY SKILLS OF UNDERGRADUATE STUDENTS | en |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการสอนตามทฤษฎีเชื่อมโยงความรู้ร่วมกับแนวคิดการใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานเพื่อส่งเสริมคุณลักษณะความเป็นพลเมืองเข้มแข็งและทักษะการรู้เท่าทันสื่อของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.discipline | หลักสูตรและการสอน(กลุ่มหลักสูตรและการนิเทศ) แบบ 2.1 ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | th |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยศิลปากร | th |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | th |
dc.transfer | บัณฑิตวิทยาลัย | th |
.custom.total_download | 41 | |
. | Theses (Ph.D) - Curriculum and Instruction / ดุษฎีนิพนธ์ - หลักสูตรและการสอน |