พระบรมสารีริกธาตุมหาสถาน
Other Title:
Shrine for Buddha's relics
Date:
2005
Publisher:
มหาวิทยาลัยศิลปากร
Abstract:
การทำวิทยานิพนธ์ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและทำการออกแบบสถาปัตยกรรม-ไทยประยุกต์ โดยผสมผสานอินเดียโบราณกับสถาปัตยกรรม พร้อมทั้งคำนึงถึงการใช้พื้นที่การจัดแสดงที่สอดคล้องกับความสำคัญของพระบรมสารีริกธาตุ และการรวมกันของกิจกรรมสันทนาการ และพิธีกรรมทางพุทธศาสนา เพื่อให้ใช้ผู้ใช้โครงการได้เกิดความรู้ ความเข้าใจไปพร้อมๆๆกับการสืบทอดพุทธศาสนาให้ดำรงอยู่อย่างมั่นคง
วิธีดำเนินการออกแบบประกอบด้วย
1. การศึกษาพิธีกรรม และประเพณีปฏิบัติของพุทธศาสนิกชนต่อบรมสารีริกธาตุ ซึ่งมีผลต่อการวางตำแหน่งของประโยชน์ใช้สอยของโครงการ
2. การศึกษาผลลักษณะทางสถาปัตยกรรมของพุทธศาสนาในอินเดีย และไทยเพื่อหาแนวทางนำมาประยุกต์ร่วมกัน
3. การศึกษาผลของแสงธรรมชาติที่มีผลต่อความรู้สึกในการชมวัตถุจัดแสง และการนำมาประยุกต์ใช้ในงานสถาปัตยกรรมไทย
ข้อเสนอแนะในการออกแบบ
1. การศึกษาพิธีกรรม และประเพณีปฏิบัติของพุทธศาสนิกชนต่อบรมสารีริกธาตุ ซึ่งมีผลต่อการวางตำแหน่งของประโยชน์ใช้สอยของโครงการ
2. การศึกษาลักษณะทางสถาปัตยกรรมของพุทธสถานในอินเดีย และไทยเพื่อหาแนวทางนำมาประยุกต์ร่วมกัน
3. การศึกษาผลของธรรมชาติที่มีผลต่อความรู้สึกในการชมวัตถุจัดแสดง และการนำมาประยุกต์ใช้ในงานสถาปัตยกรรมไทย
ข้อเสนอแนะในการออกแบบ
1. การศึกษาและออกแบบงานสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ นอกจากศึกษารูปแบบเดิมให้เข้าใจอย่างดีแล้ว ต้องศึกษาให้เข้าถึงที่มาขององค์ประกอบต่างๆ จึงจะทำให้สามารถพัฒนาการออกแบบไปได้อย่างมีมีขีดจำกัด
2. ในการออกแบบเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการใช้งานจริง ผู้ออกแบบควรทำการออกแบบควบคู่ไปกับผู้เชี่ยวชาญสาขาต่างๆที่เกี่ยวข้องกับโครงการ The purposes of this thesis were to make a research and design on contemporary Thai architecture; combining of ancient Buddhist architectures of Indian and Thai with realizations of making space which is suitable for values of Buddha’s Relics. In addition, the thesis included the design that put recreation and Buddhist ritual together, for adding knowledge and pass on to descendant. The design process consists of
1. The study on Buddhist ritual and tradition of cherishing Buddha Relics that affect position of functions.
2. The study on Buddhist architecture of Indian and Thai to search for characteristics combination.
3. The study on effect of natural light which able to arouse emotion of seeing objects and apply to the design.
Advices on the design and process
1. Study and design on contemporary Thai architecture beside the manifest study on traditional Thai style designer need to understand the uses of architectural elements which help designer to be able to develop design unlimitedly.
2. In order to achieve the most sufficient practical design designer should work with the experts from other relative fields during the whole design process.
Type:
Discipline:
สาขาวิชาสถาปัตยกรรมไทย
Total Download:
868