พระมหาเจดีย์และพิพิธภัณฑ์ชุมชนบ้านคูบัว จังหวัดราชบุรี
ชื่อเรื่องอื่น:
Stupa and museum of Ban Kubua, Rajchaburi
ผู้แต่ง:
หัวเรื่อง:
วันที่:
2003
สำนักพิมพ์:
มหาวิทยาลัยศิลปากร
บทคัดย่อ:
การทำวิทยานิพนธ์ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษา และทำการออกแบบสถาปัตยกรรม-ไทยประเพณี ในรูปแบบของพระมหาเจดีย์ที่มีการคำนึงถึงการใช้พื้นที่เพื่อให้เกิดประโยชน์ด้านอื่นไปพร้อมกัน การออกแบบพิพิธภัณฑ์ชุมชน ซึ่งเป็นที่เก็บรักษารวบรวมและจัดแสดงโบราณวัตถุที่พบในเขตเมืองโบราณบ้านคูบัว และศึกษารูปแบบกิจกรรมที่จะจัดให้มีในโครงการเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวและสอดคล้องกับวิถีชีวิตขิงคนในท้องถิ่น
วิธีดำเนินการออกแบบประกอบด้วย 1) การศึกษาลักษณะทางสถาปัตยกรรมและลักษณะทางประติมานวิทยา ทั้งในเขตเมืองคูบัว และเมืองโบราณสมัยทวารดีในอดีต เช่น เมืองนครปฐม เมืองอู่ทองเป็นต้น 2)การนำเอกลักษณ์ของชุมชนเช่น การท่อผ้าซิ่น-ตนจก มาประยุกต์ในการออกแบบลวดลายประดับอาคาร 3) การนำแสงธรรมชาติมามีส่วนในขั้นตอนการออกแบบในลักษณะการใช้ร่วมกับแสงประดิษฐ์
ข้อเสนอแนะในการออกแบบ
1. ในการศึกษาและออกแบบงานสถาปัตยกรรมไทยนี้ นอกจากจะออกแบบให้เหมาะสมตามหลักประเพณีแล้ว ผู้ออกแบบควรมีแนวคิดที่จะต้องสร้างสรรค์ให้เกิดพัฒนาการแก่อาคารด้วย
2. การออกแบบโครงการที่มีพื้นที่เป็นชุมชนโบราณนั้นจำเป็นต้องศึกษาครอบคลุมถึงชุมชนโดยรอบด้วย เพื่อเข้าใจถึงพัฒนาการ จึงจะสามารถเอกลักษณ์เฉพาะของชุมชน
3. ในการออกแบบเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในเชิงการใช้งานจริง ผู้ออกแบบควรทำการออกแบบควบคู่ไปกับผู้เชี่ยวชาญสาขาต่างๆที่เกี่ยวข้องกับโครงการ The purposes of this thesis were to make a research and design on traditional Thai architecture in from of a Stupa with realization of making functional space other practical programs along with aesthetics and cultural values The thesis included the design of Community Museum building where ancient artifacts found in the ancient city of Ban Kubua will be preserved and exhibited in and the study of any activities that could possibly be added into the project to promote Thai tourism and harmonically be along with the local lifestyle.
The design process consists of 1) The study on characteristics of architecture and ancient artifacts both in the area of Kubua city and other ancient city in Dvaravati period for examples Nakhon Pathom city and U-Thong city 2) To adapt and transform community cultural characteristic such as sin-teen jok fabric hand woven Thai skirt with special method of color picked on the edge to become part of architectural ornaments 3) The realization of natural light as the main theme during the design process together with artificial lights.
Advices on the design and process
1. Beside the traditional appropriations which have to be considered during the whole research and design of Thai architecture designer needs to have creativities in order to make development of the building and architecture value.
2. To design any projects in ancient community area it is compulsory to make a wide study about its context and surrounding communities in order to see the bigger picture and understand its development and evolution and to find the certain character of any particular community.
3. In order to achieve the most sufficient practical design designer should work with the experts from other relative fields during the whole design process.
คำบรรยาย:
วิทยานิพนธ์ (สถ.ม (สถาปัตยกรรมไทย))--มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2546. Thesis (M.A.(Thai Architecture))--Silpakorn University, 2003
ประเภทผลงาน:
สาขาวิชา:
สาขาวิชาสถาปัตยกรรมไทย
จำนวนดาวน์โหลด:
272