การออกแบบเลขศิลป์สิ่งพิมพ์และสิ่งโฆษณาสำหรับบริษัทเฟอร์วูดคอร์เปอเรชั่น
Author:
Date:
1984
Publisher:
มหาวิทยาลัยศิลปากร
Abstract:
การวิจัยครังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ในสิ่งพิมพ์โฆษณาและวิเคราะห์รูปแบบการนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ การจำแนกประเภทของวิธีกหารนำเสนอและการจัดหมวดหมู่ของการนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ในสิ่งพิมพ์โฆษณา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ สิ่งพิมพ์โฆษณาจากนิตยสาร Lurzer’s Int’l Archive Ads, TV and Posters Worldwideฉบับที่ 1 ปี ค.ศ.1992-ฉบับที่ 6 ปี ค.ศ. 2001 จำนวน 100 ชิ้นงาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ และการวิเคราะห์เนื้อหา(Content Analysis )
ผลการวิจัยพบว่า การนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ในสิ่งพิมพ์โฆษณาสามารถจำแนกประเภทของการนำเสนอและการจัดหมวดหมู่ของการนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ในสิ่งพิมพ์โฆษณาได้ คือ 1 การเปลี่ยนมุมมอง2. การแนะนำประโยชน์อื่นของสินค้า 3.การมองออกจากกรอบพื้นที่โฆษณา 4.การเปลี่ยนแปลงสินค้า 5.การสร้างเกมให้ผู้ดูมีส่วนร่วม6.การเปรียบเทียบถึงความแตกต่าง 7.การสร้าง ภาพหรือข้อความที่สื่อได้2 ความหมาย 8.การแสดงคุณสมบัติของสินค้าแบบเกินจริง 9.การใช้คำหรือสำนวนโคลงกลอน 10.การใช้วิธีเปรียบเทียบแบบอุปมาอุปไมย11. การผสมภาพและจับคู่ 12.การเว้นช่องว่างและการเติมเม 13.การสร้างภาพหรือข้อความทีขัดแย้ง 14.การเล่นกับเวลา 15 การเล่นกับตัวอักษร 16 การจัดวางภาพซ้ำ 17. การสร้างเรื่องล้อเลียน 18.การใช้สัญลักษณ์และเครื่องหมาย 19 การสร้างภาพล้อข้อความ 20. การสร้างเรื่องกลับตัลปัตร โดยรูปแบบที่ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นด้วยมากที่สุด 3 ประเภท ได้แก่ การ แสดงคุณสมบัติของสินค้าแบบเกนจริง การใช้วิธีเปรียบเทียบแบบอุปมาอุปไมย และ การเล่นกับตัวอักษร The purpose of this research was to study creative execution in print advertising and analyze its patterns. The samples were 100 advertisements in the Lurzer’s lnt’l Archive Ads, TV and Posters Worldwide, issue no.1-6 since 1992-2001. Data were collected by using the constructed questionnaire and analyzed by percentage and content analysis The major findings of this study were as follow.
Creative Execution can be divided into 20 categories; 1.A change of Perspective 2. Alternative Uses 3. Break out of the Frame 4. Change the product 5. Come and Play 6. Comparative Juxtaposition7.Doubkle Meanings 8. Exaggeration 9. In the beginning was the word 10. Metaphor and Analogy 11. Mixing and Matching 12. Omission and Suggestion 13. Paradoxes 14. Play with time 15. Play with words 16. Repetition and Accumulation 17 Spoofs and Parodies 18. Symbols and Signs 19 Take it literally and 20. Turn it right around. The opinions of respondents toward 3 categories; Exaggeration, Metaphor and Analogy, and Play with words were at the highest level.
Type:
Discipline:
สาขาวิชาประยุกตศิลปศึกษา
Total Download:
107