ค้นหา
กำลังแสดงชิ้นงาน 1-10 จาก 296
วิเคราะห์แนวคิดของรัชกาลที่ 4 ที่สะท้อนผ่านงานจิตรกรรมเรื่องอิเหนาในวิหารหลวง วัดโสมนัสวิหาร
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ เป็นการศึกษาภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่อง “อิเหนา” ในพระวิหารหลวงวัดโสมนัสวิหาร เพื่อวิเคราะห์หาแรงบันดาลใจที่ส่งผลให้รัชกาลที่ 4 โปรดเกล้าฯ ให้นำเรื่องที่เป็นวรรณคดีนิทานมีเนื้อหาประโลมโลกมาเขียนไว้ภายในพระอาราม ...
วัดพระพายหลวง : แนวความคิดใหม่จากผลการขุดตรวจทางโบราณคดีกับงานวิเคราะห์แบบอย่างสถาปัตยกรรม
การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบศิลปะ กำหนดอายุ และหาความสัมพันธ์ของสิ่งก่อสร้างของวัดพระพายหลวง จังหวัดสุโขทัย โดยใช้หลักฐานจากการขุดตรวจทางโบราณคดีภายในวัดพระพายหลวง และการขุดตรวจพื้นที่คันดินรูปสี่เหลี่ยมผ ...
เทวดานพเคราะห์-พระพุทธรูปประจำวัน : ภาพสะท้อนคติความเชื่อ พิธีกรรมในสังคมไทย
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีจุดมุ่งหมายในการศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการคติความเชื่อ ในการบูชาเทวดานพเคราะห์-พระพุทธรูปประจำวันสมัยรัตนโกสินทร์ โดยศึกษาผ่านการเปลี่ยนแปลงสัญลักษณ์รูปเคารพในการประกอบพิธีกรรม เท่าที่พบหลักฐานตั้งแต่อดี ...
พระพุทธรูปสกุลช่างนครศรีธรรมราชระหว่าง พุทธศตวรรษที่ 22-24
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาและวิเคราะห์รูปแบบศิลปของพระพุทธรูปสกุลช่างนครศรีธรรมราช ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 22-24 ด้วยวิธีการจำแนกรูปแบบและศึกษาเปรียบเทียบอิทธิพลด้านรูปแบบศิลปะ และข้อสันนิษฐานในการกำหนดอายุ ...
ถะ : เจดีย์ศิลาจีนในสมัยรัชกาลที่ 3
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักฐานที่มา รูปแบบศิลปกรรม และหน้าที่การใช้งานที่เกี่ยวข้องกับถะหรือเจดีย์ศิลาจีนในสมัยรัชกาลที่ 3 รวมทั้งความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและสังคมระหว่างจีนและไทยในสมัยนี้ โดยศึกษาผ่านกลุ่ ...
เจดีย์ทรงระฆังสมัยรัตนโกสินทร์ในจังหวัดจันทบุรี พุทธศตวรรษที่ ๒๔-๒๕
วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อต้องการศึกษารูปแบบของเจดีย์ทรงระฆังในจังหวัดจันทบุรี ช่วงพุทธศตวรรษที่ ๒๔-๒๕ ว่ามีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมและมีคติการสร้างอย่างไร รวมไปถึงความสัมพันธ์ระหว่างกรุงเทพฯ กับเมืองจันทบุรีในสมัย ...