Search
Now showing items 1-6 of 6
การเปลี่ยนแปลงของเมืองบริเวณพื้นที่ตามแนวเส้นทางรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร สายสีเขียว ช่วงสถานีอโศก ถึงสถานีแบริ่ง
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพของพื้นที่เมืองบริเวณ แนวเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายสีเขียว ช่วงสถานีอโศกถึงสถานีแบริ่ง ในรัศมีห่างจากสถานี 500 เมตรโดยรอบ 5 สถานี ได้แก่ สถานีอโศก พร้อมพงษ์ ...
แนวทางการออกแบบพื้นที่สาธารณะที่ตอบรับกับพฤติกรรมของคนรุ่นใหม่
งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบพื้นที่สาธารณะที่ตอบรับกับพฤติกรรมของคนรุ่นใหม่ โดยรวบรวมข้อมูลทฤษฎี แนวคิดเกี่ยวกับพื้นที่สาธารณะและพฤติกรรมของกลุ่มคนรุ่นใหม่ รวมทั้งการสอบถามความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง ...
วิธีการกำหนดอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินในพื้นที่ประวัติศาสตร์ของเมือง: กรณีศึกษาพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินวัดมังกร
ค่า FAR (Floor area ratio) คือ เครื่องมือหนึ่งของการควบคุมความหนาแน่นทางกายภาพของการใช้ประโยชน์ที่ดินและกิจกรรมต่าง ๆ ภายในเมือง ซึ่งเป็นเครื่องมือที่มีความสำคัญที่ใช้ในการออกมาตรการแก้ปัญหาเรื่องความหนาแน่นของเมือง ...
แนวทางการบรรเทาผลกระทบจากปรากฏการณ์เกาะความร้อนของเมืองในพื้นที่ความหนาแน่นสูง: กรณีศึกษาถนนสีลม
งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางที่เป็นไปได้ในการบรรเทาผลกระทบจากปรากฏการณ์เกาะความร้อนในพื้นที่ที่มีความหนาแน่นสูงโดยรวบรวมข้อมูลทฤษฎี แนวทางการปฏิบัติ รวมทั้งการสัมภาษณ์ความคิดเห็นกลุ่มตัวอย่าง เพื่อเสนอแน ...
ผลกระทบจากการท่องเที่ยวที่ส่งผลต่อรูปแบบชุมชนเมืองเชียงคาน อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย
การท่องเที่ยวเมืองเชียงคาน เติบโตมาจากเมืองที่มีประวัติศาสตร์ วิถีชีวิตและวัฒนธรรมอันเรียบง่าย ตั้งอยู่ริมฝั่งโขง อำเภอเชียงคาน และถูกพัฒนาจนกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวภายในระยะเวลา 4-6 ปี จนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร ...
ลักษณะพื้นที่กึ่งสาธารณะและพื้นที่สาธารณะที่แสดงถึงอัตลักษณ์ชุมชนอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะพื้นที่กึ่งสาธารณะและพื้นที่สาธารณะที่แสดงถึงอัตลักษณ์ชุมชนอัมพวา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1. แบบบันทึกและสำรวจลักษณะกายภายของพื้นที่ 2. แบบสัมภาษณ์ บุคคลสำคัญในชุมชน ...