Search
Now showing items 1-9 of 9
การศึกษาเชิงวิเคราะห์วรรณกรรมเขมรแนวประวัติศาสตร์ของ "บีว ไฉเลียง"
งานวิจัยนี้ มีจุดมุ่งหมายศึกษาวรรณกรรมเขมรแนวประวัติศาสตร์ของ “บีว ไฉเลียง” จำนวน 2 เรื่อง คือ “วีรบุรุษ” และ “วิทยาบุรุษ” เพื่อศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบต่าง ๆ ของนวนิยาย ได้แก่ แนวคิดของเรื่อง โครงเรื่อง กลวิธีการประพันธ์ ...
การศึกษาเชิงวิเคราะห์นวนิยายเขมรเรื่อง "ลืมไม่ลง"
การวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อการศึกษาวิเคราะห์นวนิยายเขมรเรื่อง “ลืมไม่ลง” ประพันธ์โดย ปัลวรรณา รีรักษ์ เป็นหนังสือนวนิยายที่ได้รับรางวัล การแข่งขันการประพันธ์อักษรศาสตร์เขมร ชื่อรางวัล “พระสีหนุราช” ในปี 2538 ...
ลเบิกอังกอร์วัด : การศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมและภาพสลักเล่าเรื่องที่ปราสาทนครวัด
การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมร้อยกรองเขมรเรื่อง “ลเบิกอังกอร์วัด” กับภาพสลักเล่าเรื่องที่ปราสาทนครวัด เพื่อให้ทราบถึงจินตนาการ และความคิดของกวีผู้ประพันธ์ในการบรรยายภาพสลักเล่าเรื่อง ...
การศึกษาเชิงวิเคราะห์นวนิยายเขมรเรื่อง "กุหลาบ-สุบิน"
สารนิพนธ์ฉบับนี้ เป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์ นวนิยายเขมรเรื่อง “กุหลาบ-สุบิน” ซึ่งได้รับรางวัล อันดับที่ 1 ของรางวัล อักษรศิลป์ “พระสีหนุราช” ในปี ค.ศ. 2001 โดยศึกษาวิเคราะห์ในด้านองค์ประกอบต่าง ๆ คือ เนื้อหาสาระ โครงเรื่อง ...
การศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมเขมรที่ได้รับรางวัลพระสีหนุราช ประจำปี ค.ศ. 1999
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ เป็นการศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมเขมรที่ได้รับรางวัลพระสีหนุราช ประจำปี ค.ศ. 1999 อันดับที่ 1-3 อันได้แก่ เรื่อง “เมฆสีดำ” ซึ่งแต่งโดย หัว ยาด เรื่อง “ขวัญถ้ำพระ. แต่งโดย แงด โสภัณ และเรื่อง ...
การศึกษาเชิงวิเคราะห์หนังสือภาษาเขมรเรื่อง การก้าวตรงไปยังทิศตะวันตก และอินโดจีนในปี 2000
งานวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาวิเคราะห์หนังสือเรื่อง “การก้าวตรงไปยังทิศตะวันตก และอินโดจีนในปี 2000” ซึ่งเป็นหนังสือที่พิมพ์ด้วยภาษาเขมรที่เขียนโดยนายนวน เฆือน หนังสือนี้เป็นหนังสือที่ได้รับความนิยมในประเท ...
ผกาสรโพน : การศึกษาวิเคราะห์สังคม ประเพณี ความเชื่อของชาวเขมร
งานสารนิพนธ์นี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาวิเคราะห์สภาพสังคม ประเพณี ความเชื่อของชาวเขมรในสมัย พ.ศ. 2476 ซึ่งสะท้อนออกมาผ่านนวนิยายเขมรเรื่องผฺกาสฺรโพนนี้
ผลการวิจัยสรุปได้ว่า สังคมชาวเขมรในสมัยประมาณ พ.ศ. 2476 ...
การวิเคราะห์นวนิยายเขมรเรื่องภาระสุดท้าย
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์นวนิยายเขมรเรื่อง “ภาระสุดท้าย” ประพันธ์โดย เมา สำณาง
งานวิจัยครั้งนี้แบ่งออกเป็น 5 บท คือ บทนำ กล่าวถึงความเป็นมา และความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ ขอบเขต ประโยชน์ที่ได้รับ ...
การวิเคราะห์ศิลาจารึกสดกก็อกธมเชิงวรรณกรรม
สารนิพนธ์ฉบับนี้เป็นการวิเคราะห์ศิลาจารึกสดกก๊อกธมเชิงวรรณกรรม มีจุดมุ่งหมายศึกษาข้อความในศิลาจารึกตามองค์ประกอบทางวรรณกรรมประเภทสารคดี เฉพาะส่วนของภาษาเขมรโบราณ ผลการศึกษามีดังนี้
1. ด้านผู้แต่ง พระกมรเตงอัญศรีชเยนท ...