Search
Now showing items 1-10 of 35
การศึกษาชื่อสถานที่ในอาณาจักรเขมร
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์และจัดหมวดหมู่ชื่อเฉพาะของสถานที่ ภาษาสันสกฤต และภาษาเขมรในศิลาจารึกอาณาจักรเขมรโบราณ และชื่อเฉพาะของสถานที่ปัจจุบันในจังหวัดเสียมเรียบโดยอิงตามกลุ่มความหมาย รวมทั้งดูแนวค ...
การศึกษากวีนิพนธ์เขมรร่วมสมัยที่ปรากฏในอินเทอร์เน็ตปี พ.ศ. 2547
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาวิเคราะห์กวีนิพนธ์ร่วมสมัยที่ปรากฏในอินเทอร์เน็ต ปี พ.ศ. 2547 ทั้งในด้านวรรณศิลป์และภาพสะท้อนสังคมโดยคัดเลือกกวีนิพนธ์ จำนวน 64 บท จาก 4 เว็บไซต์คือ www.cambodianview.com, www.khmerbusiness.com ...
การศึกษาเชิงวิเคราะห์วรรณกรรมเขมรแนวประวัติศาสตร์ของ "บีว ไฉเลียง"
งานวิจัยนี้ มีจุดมุ่งหมายศึกษาวรรณกรรมเขมรแนวประวัติศาสตร์ของ “บีว ไฉเลียง” จำนวน 2 เรื่อง คือ “วีรบุรุษ” และ “วิทยาบุรุษ” เพื่อศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบต่าง ๆ ของนวนิยาย ได้แก่ แนวคิดของเรื่อง โครงเรื่อง กลวิธีการประพันธ์ ...
ร่องรอยพระพุทธศาสนาในอาณาจักรเขมรโบราณก่อนพุทธศตวรรษที่ 17
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะแสดงให้เห็นถึงร่องรอยหลักฐานของพระพุทธศาสนาที่เคารพนับถือกันอยู่ในอาณาจักรเขมรโบราณก่อนพุทธศตวรรษที่ 17 โดยในตอนต้นของงานวิจัยนี้ได้กล่าวถึงความเป็นมาของพุทธศาสนานิกายต่าง ๆ ...
การศึกษาเชิงวิเคราะห์นวนิยายเขมรเรื่อง "ลืมไม่ลง"
การวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อการศึกษาวิเคราะห์นวนิยายเขมรเรื่อง “ลืมไม่ลง” ประพันธ์โดย ปัลวรรณา รีรักษ์ เป็นหนังสือนวนิยายที่ได้รับรางวัล การแข่งขันการประพันธ์อักษรศาสตร์เขมร ชื่อรางวัล “พระสีหนุราช” ในปี 2538 ...
เพลงสมัยนิยมเขมร : ภาษาและภาพสะท้อนวัฒนธรรม
เพลงสมัยนิยมเขมรที่นำมาวิจัยนี้ เป็นเพลงที่สำรวจแล้วว่า ได้รับความนิยมในปัจจุบัน จำนวน 390 เพลง จำแนกตามช่วงเวลาการแต่งเป็น 2 ช่วงเวลา คือ ช่วงที่ 1 เริ่มตั้งแต่ก่อนได้รับเอกราชจากฝรั่งเศส ถึงสมัยเขมรแดง ปี ค.ศ. 1953 ...
คำยืมบาลีสันสกฤตในภาษาเขมร
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษารูปแบบคำยืมบาลีสันสกฤตในภาษาเขมร รูปคำเดิมของภาษาบาลีสันสกฤต การเปลี่ยนแปลงรูปคำยืมบาลีสันสกฤตในภาษาเขมร และการจัดกลุ่มคำยืมบาลีสันสกฤตเป็นหมวดหมู่โดยอิงตามความหมาย ...
สีในภาษาเขมร : การรับรู้และโครงสร้างทางไวยากรณ์
งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์คำเรียกสีและการรับรู้สี คำเรียกสีกับโครงสร้างทางไวยากรณ์ และคำเรียกสีกับคำขยาย ในภาษาเขมรมาตรฐานและภาษาเขมรถิ่นไทย
ผลการวิเคราะห์คำเรียกสีและการรับรู้สี พบว่า ภาษาเขมรมาตรฐานและ ...
วรรณศิลป์และภาพสะท้อนวัฒนธรรมเขมรในรามเกียรติ์ฉบับพุทธศาสนบัณฑิตย์ เล่มที่ 1-10
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาวิเคราะห์คุณค่าวรรณคดีฉบับหลักเรื่องรามเกรฺติ์ เล่มที่ 1 – 10 ซึ่งสถาบันพุทธศาสนบัณฑิตย์ กรุงพนมเปญ พิมพ์เผยแพร่ เพื่อยืนยันว่ารามเกรฺติ์เป็นวรรณคดีฉบับสำคัญฉบับหนึ่งในดินแดนเอเชียตะวันออกเ ...
ลเบิกอังกอร์วัด : การศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมและภาพสลักเล่าเรื่องที่ปราสาทนครวัด
การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมร้อยกรองเขมรเรื่อง “ลเบิกอังกอร์วัด” กับภาพสลักเล่าเรื่องที่ปราสาทนครวัด เพื่อให้ทราบถึงจินตนาการ และความคิดของกวีผู้ประพันธ์ในการบรรยายภาพสลักเล่าเรื่อง ...