โครงการออกแบบศูนย์การเรียนรู้เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยตามแนววิถีพุทธ
ชื่อเรื่องอื่น:
Project design of the Early-Childhood Development Center under buddhist philosophy
ที่ปรึกษา:
วันที่:
2009
สำนักพิมพ์:
มหาวิทยาลัยศิลปากร
บทคัดย่อ:
จากวัตถุประสงค์การศึกษาเรื่องการออกแบบศูนย์การเรียนรู้เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยในแนวทางวิถีพุทธ ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาแนวคิดวิถีพุทธ ซึ่งได้หลักไตรสิกขา มาใช้เป็นหลักในการจัดกระบวนการแนวคิดและนำกระบวนการที่ได้นั้นทำการเชื่อมโยงและแปรรูปไปสู่การออกแบบพื้นที่และกิจกรรมในอาคารของพิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพฯ โดยมุ่งเน้นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยในกรอบวิธีการพัฒนา เด็กปฐมวัยของกระทวงศึกษาธิการ ที่กำหนดไว้
จากการศึกษาศูนย์การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยนั้นพบว่ามีวิธีการที่ต่างๆ กันออกไป แต่การพัฒนาเด็กปฐมวัยในแนวทางวิถีพุทธนั้นเป็นวิธีหนึ่งที่ใช้ได้ผลดีกับบริบทของประเทสไทย เนื่องจากพื้นฐานทางวัฒนธรรมของคนไทยนั้นมีรากฐานของพุทธศาสนาฝังรากร่วมอยู่ด้วย และการศึกษานี้จึงพบว่า การออกแบบศูนย์การเรียนรู้เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยตามแนวทางวิถีพุทธนั้น สามารถพัฒนาเด็กปฐมวัย ได้อย่างเป็นองค์รวมทั้งด้านพฤติกรรม จิตใจ ปัญญา ตรงตามวัตถุปรสงค์และสมมุติฐานที่ออกแบบได้กำหนดเอาไว้ และยังส่งผลไห้เด็กได้เรียนรู้ทางด้านวิชาการที่เหมาะสมกับพัฒนาการและการเรียนรู้อีกด้วย แนวคิดการออกแบบศูนย์การเรียนรู้นี้ยังสามารถใช้เป็นข้อมูลเบื้องในการนำแนวทางด้านไตรสิกขาไปใช้ในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยในบริบทสถานที่อื่นๆ รวมถึงการนำไปใช้กับคนในวัยอื่นๆ และนำไปประยุกต์ใช้กับสถานที่ที่ใช้เป็นศูนย์รวมต่างๆ แต่ต้องดำเนินการอยู่ภายใต้ข้อกำหนดของการจัดสภาพแวดล้อมที่กำหนดไว้ This research aims to study the design of early-childhood development center under Buddhist philosophy. The researcher studies about the Buddhist concept and conducts Traisikkha (three studies; morality, concentration and wisdom) as a core to apply in conceptual procedure, The researcher coheres and adapts the concept into design of area and activities in the Children’s Discovery Museum Bangkok. The objective is to develop and improve early-childhood in accordance with early-childhood development criteria, set by the Ministry Education in Thailand.
The result of the study shows that there are various methods to develop the early-childhood. However, the method, which applies Buddhist philosophy, has efficiently high potential in development, and is practical to the Thai context. Due to the fact that the cultural background of Thai people is profoundly related to Buddhism. The study also found that the design of development center under Buddhist philosophy for early-childhood can develop children holistically, in behavior, mentality, and knowledge. In the meantime, this study follows the objective and hypothesis of the designer. Besides, this method influences children to study base on appropriate academic for full capacity in development and education. The concept of development center design is benefit for the use of basic information in Trisikkha concept for early-childhood in different places and different periods of age. In addition, it also applicable for numerous development centers, which follows and subject to the standard principle of environmental design.
คำบรรยาย:
วิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (การออกแบบภายใน))--มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2552
ประเภทผลงาน:
ชื่อปริญญา:
ศิลปมหาบัณฑิต
สาขาวิชา:
การออกแบบภายใน
สถานที่:
กรุงเทพฯ
เจ้าของลิขสิทธิ์:
มหาวิทยาลัยศิลปากร
จำนวนดาวน์โหลด:
417