วัดกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม
Other Title:
Wat Kampangsaen Nakhon Pathom
Author:
Advisor:
Date:
2009
Publisher:
มหาวิทยาลัยศิลปากร
Abstract:
วัดกำแพงแสนและเมืองโบราณกำแพงแสน นั้นมีความสัมพันธ์กันกับชุมชน ทั้งด้านกายภาพ ทางสังคมและวัมนธรรม โดยที่วัดกำแพงแสนนั้นเป็นจุดเชื่อมโยงเรื่องราวระหว่างอารยธรรมทวารวดีในอดีตกับสังคมชุมชนปัจจุบัน หรือจะกล่าวอีกนัยได้ว่า วัดกำแพงแสนเป็นพื้นที่ ที่เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้วัฒนธรรมทวารวดีของเมืองโบราณกำแพงแสน รวมทั้งพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นภาพสะท้อนของชุมชนในลักษณะของเหตุการณ์ที่สัมพันธ์กันไปในมิติของเวลาอันยาวนานของวัฒนธรรมทวารวดี ทำให้ชุมชนเข้าใจความเป็นตัวเองชัดเจนขึ้น
ในการสร้างสรรค์การออกแบบวัดกำแพงแสนนั้น ได้เกิดจากการศึกษาหลักฐานทาง โบราณวัตถุที่พบในเมืองโบราณกำแพงแสนเป็นสำคัญและความเกี่ยวเนื่องทางวัมนธรรมในอดีตธรรมจักรนั้น นับเป็นเอกลักษณ์ทางโบราณวัตถุที่สำคัญยิ่งในวัฒนธรรมทวารวดี ที่มีความโดดเด่นและพบในวัฒนธรรมศิลปะทวารวดี จึงได้เกิดการวิเคราะห์และนำมาเป็นแนวความคิดนำสู่การเชื่อมโยงเรื่องราวในอดีตกับวัฒนธรรมชุมชนในปัจจุบัน สร้างลำดับการรับรู้ที่ต่อเนื่องเป็นเรื่งเดียวกันที่สัมพันธ์กับบริบทและมิติทางประวัติศาสตร์เมืองโบราณกำแพงแสน เชื่อมโยงวิถีชุมชนเดิมเข้ากับที่ว่างทางสถาปัตยกรรมที่สร้างขึ้นภายใต้วัฒนธรรม กิจกรรม ความเชื่อเดิม ด้วยการสร้างกระบวนการเรียนที่ก่อให้เกิดปัญญาตามหลักพระพุทธศาสนาเป็นวัตถุประสงค์หลัก ในการสร้างสรรค์ ด้วยการสื่อความหมายจากแนวคิดผ่านระบบสัญลักษณ์จากคติของธรรมจักรซึ่งเป็นเป้าหมายหลักของการออกแบบวัดกำแพงแสน โดยจากแปรแนวคิดทางนามธรรมเป็นรูปธรรม ผ่านระบบสัญลักษณทางสถาปัตยกรรม ที่ทำหน้าที่เป็นทั้งรูปธรรมและนามธรรม
จากประเด็นดังกล่าวในข้างต้นนี้เอง จึงได้เลือกวัดกำแพงแสนเพื่อทำการศึกษาการออกแบบวัดเชิงทดลองที่สัมพันธ์กับชุมชนเมืองโบราณกำแพงแสนและยุคสมัยแห่งปัจจุบันที่กำลังมุ่งไปสู้อนาคต Wat Kampangsaen and the old city that the relationship with community as well as physics, social and culture. Wat Kampangsaen is relation between Dvaravati civilization in the past with community in the present or another say that Wat Kampangsaen is space of knowledge center of Dvaravati civikzation of the old city kampangsaen. Altogether the Buddhism that reflex of community in the events relationship with time dimension in the Dvaravati culture and result to community understand to be oneself.
In the creation. Design Wat Kampangsaen that resultant of study antiques discover in the old city kampangsaen and pertaining with the Dvaravati culture. That the obvious and discover in the art culture Dvaravati. Analisis to conceptual design for relation event in the past and community culture in the present. Create of sequence perception to be continue relation with context and history dimension of the old city kampangsaen and the way of native community with space under the culture, activity, faithlees. Create leaning process to intelligent follow the Buddhism is the object in the creation and the communication of meaning from conceptual design under significance from the ways of Dhammajark that is the goal of design.
From the bone of contention, so select Wat Kampangsaen for study experiment design about the temple relationship with community and the old city kampangsaen in the present period periods and go on to the future.
Description:
วิทยานิพนธ์ (สถ.ม. (สถาปัตยกรรมไทย))--มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2552
Type:
Degree Name:
สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Discipline:
สถาปัตยกรรมไทย
Spatial Coverage:
กำแพงแสน (นครปฐม)
Rights Holder:
มหาวิทยาลัยศิลปากร
Total Download:
264