STRATEGIES FOR THE DEVELOPMENT AND INTEGRATION OF PUBLIC AND PRIVATE SPACES AROUND METRO STATIONS FROM THE GENERAL CRITERIA FOR CITY PLANMING. LAMSALEE JUNCTION CASE STUDY
กลยุทธ์การพัฒนาและเชื่อมต่อโครงข่ายพื้นที่สาธารณะและพื้นที่เอกชนรอบบริเวณสถานีรถไฟฟ้าจากข้อกำหนดผังเมืองรวม กรณีศึกษาชุมทางลำสาลี
Author:
Subject:
การสร้างกลยุทธ์
พื้นที่
พื้นที่สาธารณะ
พื้นที่เอกชน
รถไฟฟ้าสายขนส่งมวลชน
สถานีศูนย์การเปลี่ยนถ่าย
เกณฑ์ผังเมืองรวม
การพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน
อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน
อัตราส่วนของพื้นที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวม
การพัฒนาและเชื่อมต่อโครงข่ายพื้นที่สาธารณะและพื้นที่เอกชน
strategic development
space
public space
private space
mass transit line
Transfer Station Center
the general criteria for city planning
FAR
OSR
TOD
The Development and integration of public and private space
พื้นที่
พื้นที่สาธารณะ
พื้นที่เอกชน
รถไฟฟ้าสายขนส่งมวลชน
สถานีศูนย์การเปลี่ยนถ่าย
เกณฑ์ผังเมืองรวม
การพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน
อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน
อัตราส่วนของพื้นที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวม
การพัฒนาและเชื่อมต่อโครงข่ายพื้นที่สาธารณะและพื้นที่เอกชน
strategic development
space
public space
private space
mass transit line
Transfer Station Center
the general criteria for city planning
FAR
OSR
TOD
The Development and integration of public and private space
Date:
4/7/2023
Publisher:
Silpakorn University
Abstract:
This study examines the connectivity between public and private spaces surrounding mass transit rail stations, an issue that has arisen due to the expansion of the public mass transit rail network from central Bangkok to its outskirts and the surrounding metropolitan areas. This expansion coincides with adjustments made to the land use plan. We selected the Lam Sali intersection as our case study with the objective of formulating strategies for the development and connectivity of the network around the rail station, based on urban planning requirements.
The study concludes that the relationship between public and private areas is integral to the study's framework. The establishment of a conceptual framework is, therefore, crucial. It incorporates factors such as: 1. Accessibility and location-related considerations for developing areas around the station, 2. Criteria for land use and building utilization, 3. Aspects related to plot size and the types of open space usage. Our results highlighted the importance of these three factors in developing strategies for area connectivity. These factors aided in identifying optimal areas to establish connections between Ladprao and Ramkhamhaeng Roads, effectively linking the stations in the area. They serve as useful considerations for design and include: the commercial axis, the community and environmental opposition axis, and the government area axis. Each of these axes can effectively bridge public and private areas, with differing potentials based on their unique characteristics. การศึกษาวิจัยในครั้งนี้มุ่งเน้นที่ปัญหาเรื่องการเชื่อมต่อโครงข่ายพื้นที่สาธารณะและพื้นที่เอกชนที่อยู่รอบบริเวณสถานีรถไฟฟ้า ซึ่งเกิดจากรูปแบบของการขยายตัวของโครงข่ายรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนสาธารณะ ที่ขยายตัวจากจุดศูนย์กลางของกรุงเทพมหานครจนมาถึงเขตกรุงเทพมหานครชั้นนอกและเขตปริมณฑล กับการปรับปรุงแผนของประเภทของการใช้ที่ดิน โดยได้เลือกพื้นที่กรณีศึกษาที่อยู่ในบริเวณชุมทางสถานีลำสาลี ซึ่งมีวัตถุประสงค์การศึกษาเพื่อสร้างกลยุทธ์การพัฒนาและเชื่อมต่อโครงข่ายรอบบริเวณสถานีรถไฟฟ้าจากข้อกำหนดผังเมืองรวมกรณีศึกษาชุมทางลำสาลี
โดยข้อสรุปการเชื่อมต่อพื้นที่สาธารณะและพื้นที่เอกชนนั้นมาจากกรอบของการศึกษานั้นเป็นสิ่งสำคัญ เช่นในกรณีศึกษาในครั้งนี้เริ่มจากการสร้างกรอบแนวความคิดของปัจจัยที่มีผลกับ งานวิจัย ซึ่งได้แก่ 1.ปัจจัยที่เกี่ยวกับการเข้าถึงพื้นที่และตำแหน่ง การพัฒนาพื้นที่รอบสถานี 2. ปัจจัยเรื่องเกณฑ์การใช้ที่ดินและการใช้อาคาร 3.ปัจจัยเรื่องขนาดของแปลงที่ดินและชนิดของการใช้พื้นที่โล่ง นำปัจจัยตัวแปรทั้ง 3 มาใช้ในการสร้างเครื่องมือ แล้วทำการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม GIS เพื่อหา ตำแหน่งของการเชื่อมต่อที่เหมาะสม โดยผลที่ได้ออกมาทำให้พบว่ามีพื้นที่เหมาะสม 3 แกน โดยมีเอกลักษณ์ชัดเจนซึ่งทำการเชื่อมโยงระหว่างถนนลาดพร้าวและถนนรามคำแหง และสามารถเชื่อมต่อสถานีรถไฟฟ้าในพื้นที่เข้าด้วยกัน ซึ่งสามารถนำมาใช้ทำการออกแบบ ได้แก่ แกนพื้นที่พาณิชยกรรม, แกนพื้นที่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม และแกนพื้นที่ราชการ ซึ่งโครงสร้างพื้นที่ทุกเส้นทางสามารถใช้ทำการเชื่อมต่อพื้นที่สาธารณะและพื้นที่เอกชนโดยรอบได้ดี โดยมีศักยภาพแตกต่างกันออกไปตามเอกลักษณ์ของแกนนั้น ๆ
Type:
Discipline:
การออกแบบชุมชนเมือง แผน ข ระดับปริญญามหาบัณฑิต
Total Download:
35
View/ Open
Metadata
Show full item recordRelated items
Showing items related by title, author, creator and subject.
-
วิธีการกำหนดอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินในพื้นที่ประวัติศาสตร์ของเมือง: กรณีศึกษาพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินวัดมังกร
Collection: Theses (Master's degree) - Urban Design / วิทยานิพนธ์ - การออกแบบชุมชนเมืองType: Thesisจักรพงษ์ มาพร (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559-04-19)ค่า FAR (Floor area ratio) คือ เครื่องมือหนึ่งของการควบคุมความหนาแน่นทางกายภาพของการใช้ประโยชน์ที่ดินและกิจกรรมต่าง ๆ ภายในเมือง ซึ่งเป็นเครื่องมือที่มีความสำคัญที่ใช้ในการออกมาตรการแก้ปัญหาเรื่องความหนาแน่นของเมือง ... -
พื้นที่เชื่อมต่อในฐานะพื้นที่ควบคุม การทดลองออกแบบพื้นที่สาธารณะของเมือง ที่มีความหนาแน่นสูง
Collection: Theses (Master's degree) - Architecture / วิทยานิพนธ์ - สถาปัตยกรรมType: Thesisศรัญพร ศรีอาภรณ์ (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559-08-02)“ชาน”เป็นองค์ประกอบสำคัญของบ้านเรือนไทยที่แสดงออกถึงความเป็นอยู่ รูปแบบการดำเนินชีวิตประจำวัน ความสัมพันธ์ระหว่างคนในสังคม รวมถึงสะท้อนถึงระบบโครงสร้างทางวัฒนธรรมที่ถูกส่งผ่านมายังรูปแบบของการวางผังเรือนซึ่งเป็นตัวแปรสำค ... -
ลานพื้นที่ว่างส่วนกลางของศูนย์การค้าระดับชุมชน และความเป็นพื้นที่กี่งสาธารณะของชุมชนเมืองกรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษาลานพื้นที่ว่างส่วนกลางของศูนย์การค้าเดอะคริสตัลและศูนย์การค้าดิเอสพลานาด กรุงเทพมหานคร
Collection: Theses (Master's degree) - Urban and Environmental Planning / วิทยานิพนธ์ - การวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อมType: Thesisเกษธวัช พ่วงเพิ่ม; Ketawat Puangperm (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2010)การขาดแคลนพื้นที่ว่างเพื่อสาธารณะประโยชน์ที่มีคุณภาพในย่านธุรกิจเป็นปัญหาสำคัญของงานวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อมตลอดมา เนื่องจากข้อจำกัดในด้านพื้นที่และราคาที่ดินที่สูงของย่านธุรกิจ ปัจจุบันศูนย์การค้าเป็นทั้งศูนย์กลาง ...