THE DEVELOPMENT OF CREATIVE WRITING ABILITY OF MATTHAYOMSUEKSA 2 STUDENTS USING PROBLEM-BASED LEARNING WITH LOCAL INFORMATION
การพัฒนาความสามารถด้านการเขียนสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับข้อมูลท้องถิ่น
Author:
Advisor:
Subject:
Date:
1/7/2022
Publisher:
Silpakorn University
Abstract:
The purposes of this research were to: 1) compare the creative writing ability of Matthayomsueksa 2 students before and after the learning management using Problem-based learning with local information. 2) study the students’ opinions towards the Problem-based learning with local information. The sample of this research was 35 Matthayomsueksa 2/2 students of the second semester, the academic year 2020at Nakhonluang Udomratwitthaya School, Nakhonluang District, Pranakhonsriayutthaya Province.
The research instruments were lesson plans, creative writing ability test and a questionnaire on the students’ opinions towards the Problem - based learning with local information. The data were analyzed by mean, standard deviation and dependent samples t-test.
The results of this research were as follows
1. The students’ Creative writing ability after using Problem-based learning with local information was significantly higher than before using Problem-based learning with local information at .05 level.
2. The students’ overall opinions towards the Problem-based learning with local information were at a high agreement level. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้านการเขียนสร้างสรรค์
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับข้อมูลท้องถิ่น 2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้
ปัญหาเป็นฐานร่วมกับข้อมูลท้องถิ่น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนนครหลวง “อุดมรัชต์วิทยา” อำเภอนครหลวงจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 35 คน ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling)
ด้วยวิธีการจับสลาก โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่มเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แผนการจัด
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับข้อมูลท้องถิ่น แบบวัดความสามารถด้านการเขียนสร้างสรรค์
และ แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ
ข้อมูลท้องถิ่น การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย (x̄) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบค่าที
แบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (Dependent Sample t-test)
ผลการวิจัยพบว่า
1. ความสามารถด้านการเขียนสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับข้อมูลท้องถิ่น สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา
เป็นฐานร่วมกับข้อมูลท้องถิ่นโดยภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก
Type:
Discipline:
การสอนภาษาไทย แผน ก แบบ ก 2 ระดับปริญญามหาบัณฑิต
Total Download:
185