พัฒนาการและบทบาทของพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ช่วงพุทธศตวรรษที่ 6-12

Other Title:
Development and Role of Buddhism in Southeast Asia, during 1st-7th Century A.D.
Author:
Advisor:
Subject:
พุทธศาสนา -- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
พระพุทธรูป -- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
พระพิมพ์
พระโพธิสัตว์
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ -- ประวัติศาสตร์
ประติมากรรม -- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ประติมากรรมพุทธศาสนา -- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ศิลปกรรมพุทธศาสนา -- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ศิลปกรรมพุทธศาสนา -- พม่า
ศิลปกรรมพุทธศาสนา -- เวียดนาม
ศิลปกรรมพุทธศาสนา -- กัมพูชา
ศิลปกรรมพุทธศาสนา -- ไทย
ศิลปกรรมพุทธศาสนา -- อินโดนีเซีย
พระพุทธรูป -- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
พระพิมพ์
พระโพธิสัตว์
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ -- ประวัติศาสตร์
ประติมากรรม -- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ประติมากรรมพุทธศาสนา -- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ศิลปกรรมพุทธศาสนา -- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ศิลปกรรมพุทธศาสนา -- พม่า
ศิลปกรรมพุทธศาสนา -- เวียดนาม
ศิลปกรรมพุทธศาสนา -- กัมพูชา
ศิลปกรรมพุทธศาสนา -- ไทย
ศิลปกรรมพุทธศาสนา -- อินโดนีเซีย
Date:
1/7/2022
Publisher:
Silpakorn University
Abstract:
This research is focused on the development and role of Buddhism in Southeast Asia during the 1-7 century A.D. through archaeological evidence and the lens of Indianization theory. The result demonstrates that during the first haft of the first millennium A.D. the maritime trade route across the Bay of Bengal has increased dramatically, because Indian people have developed their social structure into a state-level - motivated the luxury and lavish goods requirement from overseas. Consequently, Buddhist monks and Hindu brahmin had used those growths to travel to Southeast Asia.
Buddhism in Southeast Asia did not originate exclusively from one center in India, which distinguished into three origins and three periods.
1) South India region under the influence of Amaravati arts (ca. 5th- 6th century A.D.)
2) North India region under the influence of Gupta art (ca. 6th-7th century A.D.)
3) The region of Western India under the influence of post-Gupta art (ca. 7th-8th century A.D.)
By those various roots of Indian Buddhism, as a result, Buddhism in Southeast Asia is also diverse. Chinese documents referring to more than one sect of Buddhism coexists in Southeast Asia. Consequently, Buddhism had influenced Southeast Asian society with new cosmology, and Indian social structure ushered to early Indianized states of Southeast Asia in the first century A.D. การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาพัฒนาการและบทบาทของพุทธศาสนาที่มีต่อรัฐแรกเริ่มในเอเชีย-ตะวันออกเฉียงใต้ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 6-12 ผ่านหลักฐานทางโบราณคดีและแนวคิดภารตวิภัฒน์ (Indianization) พบว่า วัฒนธรรมอินเดียทั้งพุทธศาสนาและศาสนาพราหมณ์-ฮินดูได้เข้ามายังเอเชีย-ตะวันออกเฉียงใต้พร้อมกับการเติบโตของการค้าข้ามคาบสมุทรของพ่อค้าชนชาติต่าง ๆ เช่น ชาวอินเดียและจีน
ทั้งนี้พุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มิได้มีที่มาจากที่ใดที่หนึ่งเป็นการเฉพาะ แต่มีที่มาจากหลายภูมิภาคของอินเดีย จำแนกได้ 3 แหล่งที่มาและ 3 ช่วงเวลา ดังนี้
1) อินเดียภาคใต้ ภายใต้อิทธิพลศิลปะอมราวดี อายุประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ 10 ถึงพุทธศตวรรษที่ 11
2) อินเดียภาคเหนือ ภายใต้อิทธิพลศิลปะคุปตะ อายุประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ 11 ถึงพุทธศตวรรษที่ 12
3) อินเดียภาคตะวันตก ภายใต้อิทธิพลศิลปะหลังคุปตะ อายุระหว่างราวพุทธศตวรรษที่ 12-13
การมีที่มาจากหลายภูมิภาคของอินเดีย ทำให้พุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความหลากหลายตามไปด้วย ดังปรากฏหลักฐานทางโบราณคดีที่หลากหลายและข้อความในเอกสารจีนที่อ้างถึงพุทธศาสนา ปรากฏอยู่ร่วมกันมากกว่าหนึ่งนิกายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยพุทธศาสนาจึงได้เข้ามาตั้งมั่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และส่งอิทธิพลต่อสังคมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนเกิดการนำชุดความคิดใหม่ เช่น ระบบศีลธรรม จักรวาลวิทยาแบบพุทธศาสนา รวมทั้งรูปแบบการเมืองการปกครอง มาปรับใช้ให้สอดคล้องกับสังคมดั้งเดิม ท้ายที่สุดจึงเกิดการยกระดับสภาพสังคมเป็นสังคมระดับรัฐ
Type:
Discipline:
โบราณคดี แผน ก แบบ ก 2 ระดับปริญญามหาบัณฑิต
Collections:
Total Download:
283
Metadata
Show full item recordRelated items
Showing items related by title, author, creator and subject.
-
คติรูปเคารพพระกษิติครรภ์โพธิสัตว์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
Collection: Theses (Bachelor's degree) - Archaeology / สารนิพนธ์ – โบราณคดีType: Thesisพิชญ์ชาญ วงศาโรจน์ (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2012) -
รูปแบบอุโบสถในจังหวัดอุดรธานี ช่วง พ.ศ.2511 - 2530 กับการสืบเนื่องทางงานช่าง
Collection: Theses (Ph.D) - Thai Art History / ดุษฎีนิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะไทยType: Thesisชวลิต อธิปัตยกุล; Chawalit Atipatayakul (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2009)การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบอุโบสถและการสืบเนื่องทางงานช่าง โดยมุ่งเน้นไปที่ช่วงระยะเวลา พ.ศ. 2511 – 2530 ในจังหวัดอุดรธานี ทั้งนี้ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ รูปแบบอุโบสถรวมถึงองค์ประกอบต่าง ๆ ... -
การศึกษารูปแบบการปลงศพในท่างอเข่าสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
Collection: Theses (Master's degree) - Prehistorical Archaeology / วิทยานิพนธ์ – โบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์Type: Thesisแพรวชมพู ชุณหอุไร; Praewchompoo Chunha_urai (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2013)การศึกษาพิธีกรรมการฝังศพในท่างอเข่าในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูลและศึกษาแบบแผนการฝังศพท่างอเข่า เปรียบเทียบแบบแผนพิธีกรรมเพื่อตอบคำถามการการฝังศพท่างอเข่ามีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับกลุ่มวัฒนธรรม ...