Supply Chain Management Perspectives on the Development Gap in the Heritage Tourism Industry, Using Rajasthan in India as the Case Study
-
Author:
Advisor:
Subject:
Date:
12/7/2019
Publisher:
Silpakorn University
Abstract:
According to the UNESCO, the World Heritage and tourism is defined as stakeholders share responsibility for conservation of our common cultural and natural heritage of Outstanding Universal Value and for sustainable development through appropriate tourism management. Whereas, UNECO has its aim to facilitate the management and development of sustainable tourism at World Heritage properties through fostering increased awareness, capacity and balanced participation of all stakeholders in order to protect the properties and their Outstanding Universal Value. (UNESCO, 2019)
Over the years tourism consumption patterns have changed dramatically. Richards (1996) said “Tourism has developed from an elite pursuit to a basic leisure need of the masses, and arguably the world’s biggest source of employment. At the same time, consumption of all forms of culture has expanded, as the democratization of culture and the growth of the middle class have opened up ’high’ culture to a wider audience.
Therefore, in the developing countries like India tourism has play the vital role as the major sectors of the economy, contributing to a large proportion of the national income and generating huge employment opportunities.
Despite a booming tourism sector, tourism in India is still besieged with a host of problems. To solve this, it has been suggested that the Indian tourism sector can benefit from borrowing ideas and tools from the business sector, in particular, the concept of Supply Chain Management (SCM).
The findings reveal that SCM is only utilized by the big multinationals. For small and medium-sized enterprises they do not have the understanding what SCM is all about let alone using this business tool. Despite much effort by Indian government to develop the tourism sector, the implementation of any policies lacks co-ordination and as such the result is patchy. จากคำจำกัดความขององค์การยูเนสโก (UNESCO) การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (Heritage and Tourism) คือการร่วมกัน และการแบ่งปันความรับผิดชอบต่อศิลปะวัฒนธรรม และมรดกทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่าอย่างยิ่งต่อประวัติศาสตร์ เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนผ่านการบริหารจัดการที่เหมาะสม โดยมุ่งเน้นถึงการสร้างความตระหนักรู้ และการสร้างความสมดุลที่เหมาะสมระหว่างคุณค่าของศิลปะวัฒนธรรมที่ควรค่ายิ่งแก่การอนุรักษ์ กับความคาดหวังของผู้ที่เกี่ยวข้อง
ประเทศอินเดียมีอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวที่นับเป็นหนึ่งในภาคอุตสาหกรรมหลักที่สามารถนำเข้าเงินตราต่างประเทศได้เป็นอย่างมาก และสามารถส่งเสริมการเติบโตทางธุรกิจ และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องในด้านต่างๆ อาทิ การจ้างงาน การพัฒนาด้านทรัพยากรมนุษย์ ระบบสาธารณูประโภค ภาคอุตสาหกรรมระดับจุลภาคไปถึงระดับมหภาคเป็นต้น
อนึ่ง ประเทศอินเดียยังมีข้อจำกัดอย่างมากในการบริหารจัดการ และการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างมาก ดังนั้นการนำแนวคิด และหลักการการบริหารธุรกิจ โดยเฉพาะการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน “Supply Chain Management (SCM)” ซึ่งหมายถึงแนวคิดในการทำงานแบบร่วมประสานงานกันทั้งระบบ เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุดในการทำงาน
อย่างไรก็ดี แม้ว่าในปัจจุบันการบริหารห่วงโซ่อุปทานนั้น เป็นแนวคิด และหลักปฏิบัติที่รู้จัก และยอมรับในการบริหารจัดการด้านการขนส่ง และการจัดเก็บสินค้าสำหรับธุรกิจขนาดใหญ่ในภาคเอกชนเท่านั้น แต่การบริหารห่วงโซ่อุปทานอาจสามารถนำมาปรับใช้ และประยุกต์ให้เข้ากับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวได้ ซึ่งรัฐบาลอาจต้องให้เวลาทำความเข้าใจกับระบบการจัดการดังกล่าว และปรับใช้ร่วมกับนโยบายพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อประโยชน์สูงสุดของประเทศ และสอดคล้องเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคโลกาภิวัตน์
Type:
Discipline:
Architectural Heritage Management and Tourism Plan 2.1
Collections:
Total Download:
146