Search
Now showing items 1-10 of 382
พระพุทธรูปและพระพิมพ์ทวารวดีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาเรื่องราวทางด้านต่าง ๆ ของพระพุทธรูปและพระพิมพ์ศิลปะทวารวดี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อันประกอบด้วย ด้านคติความเชื่อ ด้านประติมานวิทยา ด้านรูปแบบ และนำผลการวิเคราะห์ที่ได้ มาตอบคำถามเรื ...
เวสสันดรชาดก : จิตรกรรมกับประวัติศาสตร์สังคมล้านนา
การเปรียบเทียบเนื้อหาเวสสันดรชาดก ฉบับไผ่แจ้เรียวแดง กับอรรถกถาเวสสันดรชาดก พบว่า ฉบับไผ่แจ้เรียวแดงมีการเพิ่มเหตุการณ์และเพิ่มรายละเอียดเนื้อหามากกว่ารูปแบบอื่น อันสัมพันธ์กับจิตรกรรมที่มีการสร้างภาพของชูชก ทั้งในกัณฑ์ชูชก, ...
ศิลปะสกุลช่างเพชรบุรี : งานปูนปั้นปัจจุบันย้อนอดีต
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อวิเคราะห์แนวความคิดและการออกแบบผลงานปูนปั้น ภายใต้เงื่อนไขและบริบททางสังคมช่างของกลุ่มช่างปูนปั้นเมืองเพชรบุรียุคปัจจุบัน 2) เพื่อหาเอกลักษณ์ และความสืบเนื่องขององค์ความรู้ ...
อุโบสถวัดไทยในเมืองมลายู (กลันตัน เกดะห์ ปะลิส และปีนัง) สมัยรัตนโกสินทร์
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมาและการสืบเนื่องของอุโบสถวัดไทยในเมืองมลายู ในด้านรูปแบบและความสัมพันธ์ทางศิลปะ งานวิจัยนี้เริ่มจากการเก็บข้อมูลทั้งภาคเอกสารและภาคสนาม รวมไปถึงการสัมภาษณ์พระสงฆ์ ชาวบ้าน ...
วิเคราะห์แนวคิดของรัชกาลที่ 4 ที่สะท้อนผ่านงานจิตรกรรมเรื่องอิเหนาในวิหารหลวง วัดโสมนัสวิหาร
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ เป็นการศึกษาภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่อง “อิเหนา” ในพระวิหารหลวงวัดโสมนัสวิหาร เพื่อวิเคราะห์หาแรงบันดาลใจที่ส่งผลให้รัชกาลที่ 4 โปรดเกล้าฯ ให้นำเรื่องที่เป็นวรรณคดีนิทานมีเนื้อหาประโลมโลกมาเขียนไว้ภายในพระอาราม ...
วัดพระพายหลวง : แนวความคิดใหม่จากผลการขุดตรวจทางโบราณคดีกับงานวิเคราะห์แบบอย่างสถาปัตยกรรม
การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบศิลปะ กำหนดอายุ และหาความสัมพันธ์ของสิ่งก่อสร้างของวัดพระพายหลวง จังหวัดสุโขทัย โดยใช้หลักฐานจากการขุดตรวจทางโบราณคดีภายในวัดพระพายหลวง และการขุดตรวจพื้นที่คันดินรูปสี่เหลี่ยมผ ...
พัฒนาการของแนวคิดและรูปแบบปราสาทในศิลปะไทย
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาถึงพัฒนาการและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแนวคิดและรูปแบบของปราสาทในศิลปะไทย นับตั้งแต่ในศิลปะก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 ได้แก่ ศิปละทวารวดี ศิลปะศรีวิชัย ศิลปะขอมในประเทศไทยและศิลปะหริภุญชัย ...
เทวดานพเคราะห์-พระพุทธรูปประจำวัน : ภาพสะท้อนคติความเชื่อ พิธีกรรมในสังคมไทย
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีจุดมุ่งหมายในการศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการคติความเชื่อ ในการบูชาเทวดานพเคราะห์-พระพุทธรูปประจำวันสมัยรัตนโกสินทร์ โดยศึกษาผ่านการเปลี่ยนแปลงสัญลักษณ์รูปเคารพในการประกอบพิธีกรรม เท่าที่พบหลักฐานตั้งแต่อดี ...
พระพุทธรูปสกุลช่างนครศรีธรรมราชระหว่าง พุทธศตวรรษที่ 22-24
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาและวิเคราะห์รูปแบบศิลปของพระพุทธรูปสกุลช่างนครศรีธรรมราช ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 22-24 ด้วยวิธีการจำแนกรูปแบบและศึกษาเปรียบเทียบอิทธิพลด้านรูปแบบศิลปะ และข้อสันนิษฐานในการกำหนดอายุ ...