การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์กับสิ่งแวดล้อมบนพื้นที่สูงในอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
Subject:
มนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ -- ไทย -- ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน)
โบราณคดี -- ไทย -- ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน)
มานุษยวิทยา -- ไทย -- ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน)
การขุดค้นทางโบราณคดี -- ไทย -- ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน)
แหล่งโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ -- ไทย -- ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน)
การสำรวจทางโบราณคดี -- ไทย -- ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน)
การตั้งถิ่นฐานก่อนประวัติศาสตร์ -- ไทย -- ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน)
การฝังศพ -- ไทย -- ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน)
ซากโครงกระดูกมนุษย์ -- ไทย -- ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน)
โบราณวัตถุ -- ไทย -- ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน)
ถ้ำ -- ไทย -- ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน)
เครื่องเคลือบดินเผา -- ไทย -- ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน)
แม่ฮ่องสอน -- ปางมะผ้า -- ความเป็นอยู่และประเพณี
แม่ฮ่องสอน -- ปางมะผ้า -- โบราณสถาน
ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน) -- ประวัติศาสตร์
โบราณคดี -- ไทย -- ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน)
มานุษยวิทยา -- ไทย -- ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน)
การขุดค้นทางโบราณคดี -- ไทย -- ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน)
แหล่งโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ -- ไทย -- ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน)
การสำรวจทางโบราณคดี -- ไทย -- ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน)
การตั้งถิ่นฐานก่อนประวัติศาสตร์ -- ไทย -- ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน)
การฝังศพ -- ไทย -- ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน)
ซากโครงกระดูกมนุษย์ -- ไทย -- ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน)
โบราณวัตถุ -- ไทย -- ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน)
ถ้ำ -- ไทย -- ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน)
เครื่องเคลือบดินเผา -- ไทย -- ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน)
แม่ฮ่องสอน -- ปางมะผ้า -- ความเป็นอยู่และประเพณี
แม่ฮ่องสอน -- ปางมะผ้า -- โบราณสถาน
ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน) -- ประวัติศาสตร์
Date:
2016
Publisher:
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
Description:
หนังสือเล่มนี้ เป็นงานวิเคราะห์ของนักวิจัย ผู้ช่วยนักวิจัย และนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัยมหาสารคาม มีทั้งหมด 22 บทความ แบ่งออกเป็น 8 ส่วน คือ 1) ภาพรวมของงานวิจัยเรื่องการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์กับสิ่งแวดล้อม ที่สังเคราะห์และบูรณาการงานวิจัยทั้งหมด 2) สิ่งแวดล้อม ที่เป็นข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม มีทั้งหมด 9 บทความ แบ่งออกเป็นสามส่วนย่อย คือสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ประกอบด้วยบทความ 2 บทความเกี่ยวกับงานวิจัยด้านธรณีวิทยา เป็นผลการศึกษาธรณีสัณฐานของตะกอนร่วนจากแหล่งโบราณคดี เพิงผาถ้ำลอด และแหล่งโบราณคดีถ้ำผีแมนโลงลงรัก ส่วนสิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ มี 4 บทความ จากงานวิจัยด้านสิ่งแวดล้อมและวงปีไม้ ที่ครอบคลุมเนื้อหาเกี่ยวกับภาพรวมของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในระดับภูมิภาคและโลก การสร้างสภาพภูมิอากาศในอดีตจากหินงอก และการวิเคราะห์ละอองเรณูในตะกอนดินเพื่อศึกษาสังคมพืชในอดีต และสิ่งแวดล้อมจากหลักฐานทางโบราณคดี 3 บทความ เป็นผลการวิเคราะห์กระดูกสัตว์จากแหล่งโบราณคดีเพิงผาถ้ำลอดและแหล่งโบราณคดีถ้ำผีแมนโลงลงรัก และการขุดค้นที่แหล่งโบราณคดีถ้ำผีแมนโลงลงรัก 3) คนโบราณ เป็นผลงานวิจัยด้านมานุษยวิทยากายภาพ (โครงกระดูกคนและฟันคน) ประกอบด้วยบทความ 4 บทความ ครอบคลุมเนื้อหาเกี่ยวกับคนโบราณในวัฒนธรรมโลงไม้ เทคโนโลยีทันตกรรมที่ประยุกต์ใช้ในงานโบราณคดี และการขึ้นรูปหน้าของหัวกะโหลกจากแหล่งโบราณคดีเพิงผาถ้ำลอด แบบ 2 มิติ 4) สังคมและวัฒนธรรมในอดีต เป็นผลงานวิจัยด้านโบราณคดี ประกอบด้วย 7 บทความ สังคมและวัฒนธรรมโลงไม้ ผลการวิเคราะห์หลักฐานทางโบราณคดีประเภทภาชนะดินเผา ภาชนะไม้ ผ้าอุปกรณ์อผ้า และเส้นสีดำ ยางรัก เพศสภาพ และแบบแผนการปลงศพที่ถ้ำผีแมนโลงลงรัก 5) การเผยแพร่และกิจกรรมการใช้ประโยชน์จากงานวิจัย เป็นการรวบรวมรายการเผยแพร่และการใช้ประโยชน์ในระดับต่างๆ 6) ภาคผนวก ประกอบด้วย เอกสารการประชุมที่เคยเผยแพร่แล้วในที่ประชุมอื่นๆ ที่ถูกนำมารวมไว้เพื่อประยชน์ในการอ้างอิงและนำไปค้นคว้าต่อไป ผลการวิเคราะห์ไอโซโทป และข้อมูลของภาชนะดินเผาที่วิเคราะห์เชิงลึก 7) รู้จักคณะวิจัย เป็นประวัติโดยสังเขปของคณะวิจัย และ 8) เอกสารและกำหนดการประชุม เป็นรายละเอียดของการประชุมทางวิชาการเรื่องการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์กับสิ่งแวดล้อมบนพื้นที่สูงในอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
Type:
Award:
ผลงานโดดเด่นคณะโบราณคดี ปี 2563
Spatial Coverage:
ปางมะผ้า
Rights Holder:
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
Collections:
Total Download:
754
View/ Open
Metadata
Show full item recordRelated items
Showing items related by title, author, creator and subject.
-
การวิเคราะห์แบบแผนการกระจายตัวและแปลความหมายของหลักฐานทางโบราณคดีประเภทกระดูกสัตว์จากแหล่งโบราณคดีเพิงผาถ้ำลอด อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
Collection: Theses (Master's degree) - Prehistorical Archaeology / วิทยานิพนธ์ – โบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์Type: Thesisอนุสรณ์ อำพันธ์ศรี; Anusorn Amphansri (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2011)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแปลความหมายของแบบแผนการกระจายตัวของหลักฐานทางโบราณคดีประเภทกระดูกสัตว์ และเปลือกหอย และเพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้พื้นที่ในกิจกรรมการอยู่อาศัยของกลุ่มคนล่าสัตว์-เก็บหาอาหารที่เข้ามาใช้พ ... -
การศึกษาปยาธาตุแบบอิทธิพลศิลปะตะวันตกอุโบสถวัดศรีบุญเรือง อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
Collection: Theses (Bachelor's degree) - Art History / สารนิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesisชยพล รัศมี (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2016)รายงานการศึกษาเฉพาะบุคคลฉบับนี้เป็นการศึกษารูปแบบงานสถาปัตยกรรมจากอิทธิพลภายนอก จากอุโบสถวัดศรีบุญเรือง อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน โดยศึกษาจากองค์ประกอบต่างๆ ของอาคาร ได้แก่ รูปแบบหลังคา ตัวอาคาร วัสดุ การประดับตกแต่ง ... -
ธรณีวิทยาทางโบราณคดี : กระบวนการก่อตัวของแหล่งโบราณคดีเพิงผาถ้ำลอด อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
Collection: Theses (Master's degree) - Prehistorical Archaeology / วิทยานิพนธ์ – โบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์Type: Thesisชวลิต ขาวเขียว; Chawalit Khaokhiew (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2003)การวิจัยนี้เป็นการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางด้านธรณีวิทยาโบราณคดี ซึ่งประยุกต์องค์ความรู้ ทางด้านธรณีวิทยาและเทคนิควิธีการต่าง ๆ เข้ามาช่วยในการตีความข้อมูลหลักฐานทางโบราณคดี เพื่อตอบคำถามต่าง ๆ จากการขุดค้นทางโบราณคดี ...