Browsing by Subject "มหาวิทยาลัยศิลปากร. ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ -- สารนิพนธ์"
Now showing items 1-20 of 30
-
กลุ่มวัดป่าเชิงดอยสุเทพ : งานศิลปกรรมและบทบาททางสังคมของเมืองเชียงใหม่ในสมัยราชวงศ์มังราย
Collection: Theses (Bachelor's degree) - Art History / สารนิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2015)การศึกษารูปแบบงานศิลปกรรมของกลุ่มวัดป่าเชิงดอยสุเทพ เมืองเชียงใหม่ เพื่อตรวจสอบอายุสมัยและลักษณะการใช้งานพื้นที่บริเวณเชิงดอยสุเทพ อีกทั้งสะท้อนบทบาททางด้านศาสนา ต่อการเมืองในสมัยราชวงศ์มังราย โดยศึกษาผ่านการสารวจหลักฐาน ... -
การจำแนกจากลวดลายบนหน้ากลองมโหระทึกแบบ HEGER I ในประเทศไทย
Collection: Theses (Bachelor's degree) - Art History / สารนิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2015)มโหระทึกเป็นวัตถุที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อตอบสนองความเชื่อในสังคมยุคก่อนประวัติศาสตร์ของชาวอุษาคเนย์ เป็นต้นกำเนิดของดนตรียุคดึกดำบรรพ์ที่สะท้อนความเป็นเอกลักษณ์ของเผ่าพันธุ์ดั้งเดิม ทั้งในแง่เทคโนโลยีการผลิตแบ ... -
การศึกษาปยาธาตุแบบอิทธิพลศิลปะตะวันตกอุโบสถวัดศรีบุญเรือง อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
Collection: Theses (Bachelor's degree) - Art History / สารนิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2016)รายงานการศึกษาเฉพาะบุคคลฉบับนี้เป็นการศึกษารูปแบบงานสถาปัตยกรรมจากอิทธิพลภายนอก จากอุโบสถวัดศรีบุญเรือง อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน โดยศึกษาจากองค์ประกอบต่างๆ ของอาคาร ได้แก่ รูปแบบหลังคา ตัวอาคาร วัสดุ การประดับตกแต่ง ... -
การศึกษารูปแบบสถาปัตยกรรมในกระแสนิยมยุควิกตอเรียนที่พระราชวังพญาไท
Collection: Theses (Master's degree) - Oriental Epigraphy / วิทยานิพนธ์ - จารึกภาษาตะวันออกType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2011) -
การศึกษารูปแบบและกำหนดอายุกลุ่มโบราณสถานวัดแก้ว วัดหลง วัดพระบรมธาตุไชยา อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี
Collection: Theses (Bachelor's degree) - Art History / สารนิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2015)ปัจจุบันหากต้องการศึกษาเกี่ยวกับศิลปะศรีวิชัยนั้นจะพบว่ากลุ่มโบราณสถานเมืองไชยา ได้แก่ วัดแก้ว วัดหลงและพระบรมธาตุไชยา เป็นโบราณสถานสำคัญแบบศิลปะศรีวิชัยในจำนวนไม่มากที่ยังคงสภาพให้สามารถทำการศึกษาได้และได้แสดงรูปแบบอิทธ ... -
การศึกษารูปแบบและคติความเชื่อของประเพณีการสร้างปราสาทศพพระสงฆ์ในรามัญนิกายในอำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
Collection: Theses (Master's degree) - Oriental Epigraphy / วิทยานิพนธ์ - จารึกภาษาตะวันออกType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2016)การศึกษาเรื่อง “ที่มาของรูปแบบและคติความเชื่อของประเพณีการสร้างปราสาทเผาศพพระสงฆ์ในรามัญนิกาย ในเขตอำเภอพระประแดง” มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษารูปแบบและคติความเชื่อของประเพณีการสร้างปราสาทเผาศพพระสงฆ์ของช่างชาวไทยเชื้อสายมอญใ ... -
การศึกษารูปแบบและประติมานวิทยาของประติมากรรมปรัศวนาถ ศาสนาเชน ในศิลปะอินเดีย
Collection: Theses (Bachelor's degree) - Art History / สารนิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2015)การศึกษาในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบของประติมานวิทยา จากแหล่งที่มาของประติมานวิทยาโดยเปรียบเทียบจากประติมากรรมจากสองศิลปะในอินเดีย เพื่อทำการสรุปข้อมูลเรื่องพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของประติมานวิทยาปรัศวนาถพอสั ... -
คติความเชื่อ รูปแบบและการจัดวางประติมากรรมศาลเจ้า : ศาลเจ้าหน่าจาซาไท้จื้อ ตำบลอ่างศิลา อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี
Collection: Theses (Bachelor's degree) - Art History / สารนิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2015)การศึกษา “คติความเชื่อ รูปแบบและการจัดวางประติมากรรมศาลเจ้า : ศาลเจ้าหน่าจาซาไท้จื้อ ตาบลอ่างศิลา อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี” นั้นมุ่งเน้นการศึกษารูปแบบและจัดวางประติมากรรมภายในศาลเจ้าหน่าจาซาไท้จื้อ ทั้งตัวองค์ประธานหลักข ... -
ความสัมพันธ์ทางศิลปกรรมของพื้นที่บริเวณปราสาทพิมาย จังหวัดนครราชสีมา และพื้นที่บริเวณปราสาทพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์ ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 16-17
Collection: Theses (Master's degree) - Oriental Epigraphy / วิทยานิพนธ์ - จารึกภาษาตะวันออกType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2015) -
ความหมายและแนวคิดในการจัดวางประติมากรรมในวัดทิพยวารีวิหาร
Collection: Theses (Bachelor's degree) - Art History / สารนิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2015)การศึกษาเรื่อง “ความหมายและแนวคิดในการจัดวางประติมากรรมในวัดทิพยวารีวิหาร” มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความเชื่อแบบจีนประเพณีกับความเชื่อลัทธิเต๋าที่ผสมผสานกันผ่านการจัดวางประติมากรรมและการศึกษาความหมายของประติมากรรมในวัด ... -
ความเป็นลาวกับความสัมพันธ์ชุมชนท้องถิ่นจากภาพจิตรกรรมวิหารวัดม่วง อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี
Collection: Theses (Master's degree) - Oriental Epigraphy / วิทยานิพนธ์ - จารึกภาษาตะวันออกType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2016)การศึกษา เรื่องความเป็นลาวกับความสัมพันธ์ชุมชนท้องถิ่นจากภาพจิตรกรรมวิหารวัดม่วง อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี มีจุดประสงค์เพื่อการศึกษาวิเคราะห์เทคนิค แนวคิดและรูปแบบงานจิตรกรรม เพื่อให้เห็นถึงอิทธิพลที่ปรากฏในงานจิตรกรรม ... -
งานศิลปกรรมที่สะท้อนความเป็นลาวภายในวัดปทุมวนารามราชวรวิหาร
Collection: Theses (Bachelor's degree) - Art History / สารนิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2015)วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร เป็นวัดที่ตั้งอยู่ใจกลางความเจริญของกรุงเทพฯ หากมองแบบผิวเผิน วัดแห่งนี้ก็คงเป็นวัดหลวง มีศิลปกรรมตามแบบไทยประเพณีอย่างไทย แต่ถ้าหากลองพินิจพิจารณาดูศิลปกรรมภายในวัดปทุมวนาราม อย่างถี่ถ้วนแล้ว ... -
ชาวต่างชาติในฐานะคนเดินเรือผ่านจิตรกรรมและสมุดภาพไตรภูมิสมัยอยุธยา
Collection: Theses (Bachelor's degree) - Art History / สารนิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2015)รายงานการศึกษาเฉพาะบุคคลฉบับนี้มีจุดประสงค์ที่จะศึกษาความหลากหลายของคนเดินเรือในสมัยอยุธยาและดูความเปลี่ยนแปลงของชาติที่เป็นคนเดินเรือในแต่ละช่วงเวลาของอยุธยา โดยศึกษาจากการเปรียบเทียบรูปแบบบุคคลที่ปรากฏบนเรือกับคนที่มีก ... -
ตรวจสอบหน้าที่การใช้งานของปราสาทวัดเจ้าจันทร์จากหลักฐานศิลปกรรม
Collection: Theses (Bachelor's degree) - Art History / สารนิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2015)วัดเจ้าจันทร์ ตั้งอยู่ในอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย อาเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ที่วัดนี้มีรูปแบบศิลปกรรมองค์ประกอบของสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ภายในวัดที่น่าสนใจ กล่าวคือ มีปราสาทรูปแบบอย่างขอมสมัยบายนอันเป็นช่วงสมัยที่ ... -
ที่มาการเขียนภาพจิตรกรรมวิถีชีวิตของจิตรกรซิน ยุนบกในสมัยราชวงศ์โชซอน
Collection: Theses (Bachelor's degree) - Art History / สารนิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2016)รายงานการศึกษาเฉพาะบุคคลฉบับนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาการเขียนภาพจิตรกรรมวิถีชีวิตของซิน ยุนบก จิตรกรรมในกลุ่มผู้เขียนภาพจิตรกรรมวิถีชีวิตที่เขียนภาพได้โดดเด่นกว่าจิตรกรคนใดในสมัยราชวงศ์โชซอน เนื่องจากเขาเน้นเขียนภาพผู้หญิง ... -
ที่มาและความหมายของโพธยาครีมุทราในพุทธศิลป์ญี่ปุ่น
Collection: Theses (Bachelor's degree) - Art History / สารนิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2015)การศึกษานี้เป็นการศึกษาเพื่อให้ทราบถึงที่มา ความหมาย และการใช้งาน ของโพธยาครีมุทราซึ่งเป็นที่นิยมใช้งานอย่างมากในพุทธศิลป์ญี่ปุ่น จากการศึกษาพบว่า โพธยาครีมุทรานั้น อาจจะมีต้นกาเนิดอยู่ในอาณาจักรจีนสมัยราชวงศ์ถัง ... -
บทบาทของภาพถ่ายกับการเปลี่ยนแปลงงานจิตรกรรมสมัยรัชกาลที่ 4
Collection: Theses (Master's degree) - Oriental Epigraphy / วิทยานิพนธ์ - จารึกภาษาตะวันออกType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2016)การศึกษาเรื่อง บทบาทของภาพถ่ายกับการเปลี่ยนแปลงงานจิตรกรรมสมัยรัชกาลที่ 4 มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาถึงความเปลี่ยนแปลงในงานจิตรกรรมฝาผนังในภายหลังจากการเปิดรับทางอิทธิพลตะวันตกในสมัยรัชกาลที่ 4 โดยมุ่งเน้นทำการศึกษาเกี่ยวกั ... -
ประติมานวิทยาและภาพสะท้อนสังคมบนใบเสมาทวารวดีบ้านคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ
Collection: Theses (Bachelor's degree) - Art History / สารนิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2016)การศึกษาในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อตรวจสอบภาพสลักบนใบเสมาสมัยทวารวดีที่พบที่บ้านคอนสวรรค์ อำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งบ้านคอนสวรรค์นี้เป็นเมืองโบราณสมัยทวารวดีที่มีใบเสมาจำนวนมากเดิมก่อนหน้านี้ใบเสมาบ้านคอนสวรรค์ยั ... -
พระพุทธรูปไม้ทรงเครื่องเมืองน่านวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางศิลปะของเมืองน่าน รัตนโกสินทร์และหลวงพระบาง
Collection: Theses (Master's degree) - Oriental Epigraphy / วิทยานิพนธ์ - จารึกภาษาตะวันออกType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2016)รายงานการศึกษาเฉพาะบุคคลเล่มนี้ทำเพื่อวัตถุประสงค์ในการศึกษาพระพุทธรูปทรงเครื่องของเมืองน่านที่สร้างขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น โดยศึกษาว่าพระพุทธรูปทรงเครื่องของเมืองน่านได้รับแรงบันดาลใจจากพระพุทธรูปทรงเครื่องต้นอย่าง ... -
ภาพสะท้อนทัศนะของสังคมจีนต่อเพศทางเลือกในงานจิตรกรรมเชิงสังวาสสมัยราชวงศ์หมิงและชิง
Collection: Theses (Master's degree) - Oriental Epigraphy / วิทยานิพนธ์ - จารึกภาษาตะวันออกType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2016)การศึกษาเรื่อง “ภาพสะท้อนทัศนะของสังคมจีนต่อเพศทางเลือกในงานจิตรกรรมเชิงสังวาสสมัยราชวงศ์หมิงและชิง” มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาและสะท้อนให้เห็นถึงทัศนะของสังคมจีนต่อเพศทางเลือกก่อนสมัยสาธารณรัฐและสาธารณรัฐประชาชนจีน (ค.ศ. ...