Browsing Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะ by Title
Now showing items 245-264 of 285
-
อาคารทรงปราสาทกับการเปลี่ยนแปลงแนวความคิดและความหมาย : กรณีศึกษาอุโบสถหลังใหม่ วัดโสธรวรารามวรวิหาร
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2009)การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษารูปแบบและแนวความคิดในการสร้างอาคารทรงปราสาทในปัจจุบัน กรณีศึกษาอุโบสถหลังใหม่ วัดโสธรวรารามวรวิหาร โดยศึกษาเปรียบเทียบกับพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง เพื่อเข้าใจถึงค ... -
อาคารแบบวิลันดา : อิทธิพลของโบสถ์คาทอลิกสมัยอยุธยาตอนปลาย
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2014)การค้นคว้าอิสระฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและตรวจสอบสมมติฐานว่า “อาคารแบบวิลันดา” ได้รับอิทธิพลจากโบสถ์คาทอลิคขนาดเล็กที่สร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนปลาย โดยการศึกษาพัฒนาการของอาคารแบบวิลันดาในช่วงอยุธยาตอนปลาย ... -
อิทธิพลศิลปะจีนและภาพสะท้อนเกี่ยวกับวิถีชีวิตชาวจีนในงานจิตรกรรมฝาผนังภายในอุโบสถวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) กรุงเทพมหานคร
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2004) -
อิทธิพลศิลปะจีนในงานจิตรกรรมแบบนอกอย่างสมัยรัชกาลที่ 3
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2004)การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลศิลปะจีนในจิตรกรรมแบบนอกอย่างในรัชกาลที่ 3 โดยศึกษาผ่านกลุ่มอุโบสถตัวอย่าง 6 แห่งคือ วัดราชโอรสฯ วัดภคินีนาถฯ จันทารามฯ วัดกัลป์ยาฯ วัดสามพระยาฯ และวัดนาคปรก ในการศึกษาวิจัย ... -
อุโบสถกับการก่อสร้างเป็นอาคารหลายชั้นในสังคมไทย
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2009)วัตถุประสงค์ในการวิจัยเพื่อให้ทราบ และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงแนวคิดที่ส่งผลให้เกิดการสร้างอุโบสถเป็นอาคารหลายชั้น ซึ่งจากการค้นคว้า และเก็บข้อมูลภาคสนาม สามารถจำแนกรูปแบบอุโบสถ ได้ดังนี้ 1. อุโบสถแบบอาคารชั้นเดียวที่มีห้ ... -
เครื่องคชาภรณ์สมัยรัตนโกสินทร์ : กรณีศึกษาเครื่องคชาภรณ์ช้างต้นในรัชกาลที่ 9
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559)วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อศึกษาคติแรงบันดาลใจทางด้านรูปแบบ การใช้วัสดุและเทคนิค การสร้างเครื่องคชาภรณ์ช้างต้นในรัชกาลที่ 9 คำว่า “คชาภรณ์” หรือ “เครื่องคชาภรณ์” จะใช้จำกัดความเฉพาะกับเครื่องแต่งกายของช้างต้น ... -
เครื่องราชูปโภคทองคำสมัยรัชกาลที่ 5 ในศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2013)การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลวดลายและเทคนิควิธีการสร้างเครื่องราชูปโภคทองคำสมัยรัชกาลที่ 5 ที่จัดแสดงในศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์ ซึ่งเป็นพิพิธภัณฑ์ที่รวบรวมและจัดแส ... -
เครื่องสูงที่ใช้ในขบวนพระราชอิสริยยศพระบรมศพและพระศพในสมัยพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Independent Study(Silpakorn University, 12/6/2020)The objective of this thesis is to study the forms, patterns, techniques and skills of royal decorations through documents and artworks from Prabuddhapada Temple Museum, Fontainbleau Palace Museum, Bangkok National Museum, ... -
เจดีย์จุฬามณีจำลอง : คติความเชื่อและรูปแบบศิลปกรรมที่พบในเขตลุ่มแม่น้ำนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2014)การค้นคว้าอิสระฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคติความเชื่อและรูปแบบศิลปกรรมในการสร้างเจดีย์จุฬามณีจำลอง ในเขตลุ่มแม่น้ำนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม จากกลุ่มตัวอย่างในศาสนสถาน 3 แห่ง คือ วัดกลางบางแก้ว วัดไทร ... -
เจดีย์ช้างล้อมวัดมเหยงคณ์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รูปแบบและความสัมพันธ์กับสถูปที่มีหัตถีปราการในศิลปะลังกา
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2013)ในการค้นคว้าฉบับนี้ได้ศึกษาถึงความสัมพันธ์ของเจดีย์ช้างล้อม วัดมเหยงคณ์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กับสถูปที่มีหัตถีปราการในศิลปะลังกาทางด้านรูปแบบและประติมานวิทยาโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยทางด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ และยังศึกษา ... -
เจดีย์ทรงปราสาทยอดในศิลปะล้านช้างภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย : กรณีศึกษากลุ่มพระธาตุบังพวน
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2009)การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์ประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเจดีย์ทรงปราสาทยอดกลุ่มพระธาตุบังพวน ผลการวิจัยพบว่า 1. เจดีย์ทรงปราสาทยอดกลุ่มพระธาตุพังพวนนี้ สร้างขึ้นเนื่องในพุทธศาสนา สามารถแบ่งรูปแบบออกเป็น ... -
เจดีย์ทรงระฆังฐานแปดเหลี่ยมเมืองกำแพงเพชร : วิเคราะห์รูปแบบและความสัมพันธ์ทางประวัติศาสตร์
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2016)การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะทำการศึกษารูปแบบเจดีย์ทรงระฆังฐานแปดเหลี่ยมที่พบในเมืองกำแพงเพชร ซึ่งจากการสำรวจภาคสนามพบว่าเจดีย์ทรงระฆังฐานแปดเหลี่ยมเมืองกำแพงเพชร มีรายละเอียดที่แตกต่างกัน สามารถแบ่งออกได้เป ... -
เจดีย์ทรงระฆังสมัยรัตนโกสินทร์ในจังหวัดจันทบุรี พุทธศตวรรษที่ ๒๔-๒๕
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2558-11-18)วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อต้องการศึกษารูปแบบของเจดีย์ทรงระฆังในจังหวัดจันทบุรี ช่วงพุทธศตวรรษที่ ๒๔-๒๕ ว่ามีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมและมีคติการสร้างอย่างไร รวมไปถึงความสัมพันธ์ระหว่างกรุงเทพฯ กับเมืองจันทบุรีในสมัย ... -
เจดีย์รายหมายเลข 4 ข. วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดลพบุรี
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2007)เจดีย์หมายเลข 4 ข. วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดลพบุรี เป็นรูปแบบที่มีลักษณะพิเศษที่หาได้ยาก ในอดีตที่ผ่านมาเจดีย์องค์นี้ได้รับการกล่าวถึงบ้างเล็กน้อย สภาพในปัจจุบันของเจดีย์ได้รับการบูรณะและเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบในบางส่วน ... -
เจดีย์วัดพระแก้ว สรรคบุรี จังหวัดชัยนาท
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2006)การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบทางศิลปะของเจดีย์วัดพระแก้ว สรรคบุรี อันเป็นเจดีย์ที่มีรูปแบบสำคัญเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ที่ปัจจุบันยังเป็นที่ถกเถียงกันในเรื่องของรูปแบบและการกำหนดอายุ โดยในที่นี้จะได้ท ... -
เจดีย์วัดโลกโมฬี เชียงใหม่
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2006)การศึกษารูปแบบศิลปะของ เจดีย์วัดโลกโมฬี จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบของเจดีย์วัดโลกโมฬีกับเจดีย์ซึ่งมีรูปแบบเดียวกัน ในแหล่งอื่น ๆ เพื่อให้รู้ว่าลักษณะใดเป็นความคิดสร้างสรรค์ของช่างพื้นเมือง ... -
เจดีย์ศิลปะมอญและการเชื่อมโยงประวัติชุมชนในจังหวัดปทุมธานี
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2014)วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ เพื่อศึกษารูปแบบของเจดีย์ศิลปะมอญในจังหวัดปทุมธานี โดยเปรียบเทียบกับรูปแบบศิลปะของมอญในช่วงสมัยใกล้เคียงกัน ด้วยการตรวจสอบตามหลักประวัติศาสตร์ศิลปะและแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ รวมทั้งการเชื่อมโยงป ... -
เจดีย์แบบพม่าสมัยรัชกาลที่ 5 ในเมืองลำปาง
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2007)งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาเจดีย์แบบพม่าสมัยรัชกาลที่ 5 ในเมืองลำปาง เปรียบเทียบกับเจดีย์ในพม่าโดยเน้นรูปแบบและลวดลาย ซึ่งแม้จะมีผู้ศึกษาถึงเรื่องราวต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับดินแดนล้านนามาบ้างแล้ว แต่ในส่วนของงานศิลปกรรม ... -
เจดีย์ในประเทศไทยหลัง พ.ศ. 2475
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2003)การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการทางวิวัฒนาการของเจดีย์ในประเทศไทยที่สร้างขึ้นหลังปี พ.ศ. 2475 ในประเด็นความหมายและรูปแบบของเจดีย์ โดยกำหนดเจดีย์จำนวนหนึ่งเพื่อเลือกมาเป็นตัวอย่างประเด็นศึกษาวิเคราะห์ ... -
เชิงสังวาสของเพศเดียวกันในจิตรกรรมฝาผนังแบบแผนประเพณีไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (รัชกาลที่ 1-5)
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2006)สารนิพนธ์เรื่องนี้ เป็นการศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะและจิตรกรรมฝาผนังแบบแผนประเพณีไทยในแง่มุมที่พยายามจะเชื่อมโยงเรื่องราวทางสังคม วรรณคดึ และความคิดความรู้ของสังคมอันแวดล้อมในช่วงที่มีการวาดภาพจิตรกรรมนั้นเท่าที่จะทำได้ ...