Browsing Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะ by Title
Now showing items 47-66 of 285
-
คติการสร้างและแนวความคิดในการออกแบบพระมหาธาตุเจดีย์ของหม่อมราชวงศ์มิตรารุณ เกษมศรี
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559)ในการศึกษาครั้งนี้จะทำการศึกษาเฉพาะพระธุตังคเจดีย์ พระมหาธาตุเจดีย์พระพุทธธรรมประกาศ พระมหาธาตุเจดีย์ศรีนครินทรา มหาสันติคีรี และพระมหาธาตุเจดีย์ภักดีประกาศ โดยศึกษาเฉพาะคติการสร้าง รูปแบบศิลปกรรม สถาปัตยกรรมและหน้าท ... -
คติความเชื่อ รูปแบบของสัตว์หิมพานต์ในงานพระเมรุมาศ
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2012)การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาที่มาของคติความเชื่อเรื่องพระเมรุมาศ คติและรูปแบบของสัตว์หิมพานต์ในงานพระเมรุตั้งแต่สมัยอยุธยาถึงรัตนโกสินทร์ รวมทั้งหน้าที่การใช้งานของสัตว์หิมพานต์ในงานพระเมรุมาศ โดยจะศึกษาผ่ ... -
คติความเชื่อและรูปแบบทวารบาลไทย-จีน สมัยรัตนโกสินทร์ (รัชกาลที่ 3) : กรณีศึกษาวัดสุวรรณารามและวัดราชโอรสาราม
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2006)การศึกษาคติความเชื่อและรูปแบบทวารบาลไทย-จีน สมัยรัตนโกสินทร์ (รัชกาลที่ 3) กรณีศึกษาวัดสุวรรณารามและวัดราชโอรสาราม มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาคติและรูปแบบทวารบาลบริเวณบานประตูในเขตพระอุโบสถ โดยศึกษาเฉพาะกลุ่มวัดไทยประเพณี ... -
คติความเชื่อและรูปแบบเทพเจ้า "ปุนเถ้ากง" ของชาวจีนในสมัยรัตนโกสินทร์ : กรณีศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2016)รายงานการค้นคว้าส่วนบุคคลชิ้นนี้มุ่งเน้นศึกษารูปแบบของประติมากรรมหรือรูปเคารพของปุนเถ้ากง อีกทั้งยังศึกษาถึงประวัติความเป็นมา รวมถึงคติความเชื่อต่างๆของปุนเถ้ากงอีกด้วย ซึ่งผลการวิจัยที่ออกมาได้มาจากการสารวจศาลเจ้าปุนเถ้ ... -
คติรัตนตรัยมหายานในศิลปะเขมรช่วงพุทธศตวรรษที่ 18 ที่พบในภาคกลางของประเทศไทย
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2003)งานวิจัยฉบับนี้เป็นการศึกษาคติรัตนตรัยมหายานที่สะท้อนในงานศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมอิทธิพลศิลปะเขมรแบบบายนช่วงพุทธศตวรรษที่ 18 โดยมีสมมติฐานจากข้อความในจารึกปราสาทพระขรรค์ เมืองนครธม ในรัชสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ... -
คติสัตว์ตัวนามในคัมภีร์ทักษาพยากรณ์และอิทธิพลต่อศิลปะไทย
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Independent Study(Silpakorn University, 12/6/2020)This independent study aims to study the origin of animal signs in Thai astrology and its influence in Thai arts by studying Thai astrology and other associated beliefs with related arts to demonstrate the dynamic of beliefs ... -
คติเรื่องพระสุริยเทพในงานศิลปกรรมที่พบในประเทศไทยช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2006)งานวิจัยฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาคติเรื่องพระสุริยเทพในงานศิลปกรรมประเภทต่าง ๆ ที่พบในประเทศไทยช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 โดยศึกษาผ่านกลุ่มเทวรูปพระสุริยะจากภูมิภาคต่าง ๆ รวมทั้งศิลปกรรมเนื่องในพุทธศาสนาหลายประเภทในว ... -
ความสัมพันธ์ของชุมชนกับศิลปกรรมในวัดราษฎร์ริมคลองสามเสน
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2004)จากการศึกษาศิลปกรรมที่มีอยู่ในวัดราษฎร์ทั้ง 4 วัดที่ตั้งอยู่ริมคลองสามเสน ได้แก่ วัดที่สร้างในสมัยอยุธยา คือวัดโบสถ์สามเสน และวัดที่สร้างในสมัยรัชกาลที่ 3 คือ วัดประสาทบุญญาวาส วัดสวัสดิ์วารีสีมาราม และวัดอัมพวัน ... -
ความเชื่อและรูปแบบวัตถุมงคลจตุคามรามเทพ
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2008)การค้นคว้าอิสระฉบับนี้เสนอมุมมองในความเชื่อและรูปแบบวัตถุมงคลจตุคามรามเทพ เนื่องจากการศึกษาที่ผ่านมาอิงอยู่กับตำนานและการประทับทรงที่วัดนางพระยาเป็นหลัก ทำให้ไม่สามารถตรวจสอบถึงความเชื่อและรูปแบบที่แท้จริงของวัตถุมงคลจ ... -
ความแตกต่างด้านคติระหว่างจิตรกรรมฝาผนังภาพเทพชุมนุมในพระที่นั่งพุทไธสวรรย์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กับภาพเทพชุมนุมในพระอุโบสถวัดสุวรรณาราม เขตบางกอกน้อย
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2006)จิตรกรรมฝาผนังภาพเทพชุมนุม มีทั้งที่เป็นคติเรื่องพระพุทธประวัติจากพระปฐมสมโพธิกถา และที่เป็นคติเกี่ยวกับวิมานในสวรรค์ซึ่งก็คือพระมหากษัตริย์ จากการศึกษาความแตกต่างด้านคติระหว่างจิตรกรรมฝาผนังภาพเทพชุมนุมอาศัยอาสำรวจ ... -
คอมพิวเตอร์กราฟฟิกในงานประวัติศาสตร์ศิลปะ
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2009)คอมพิวเตอร์กราฟิกในประเภท สื่อ สิ่งพิมพ์ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ให้ศาสตร์ทางศิลปะเกิดประโยชน์สูงสุด การได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ ในการวางแผนจัดการที่เกิดจากความสมดุล และความพึงพอใจ ด้วยประวัติศาสตร์ศิลปะ เป็นศาสตร์วิชาที ... -
คำพ้องที่มีใช้ในภาษาไทย
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 1968) -
งานจำหลักไม้ : สุธนุชาดกและลวดลายประดับฝาปะกนศาลาการเปรียญวัดแก้วไพฑูรย์
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2007)การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษารูปแบบทางศิลปกรรมและความหมาย รวมทั้งการเรียงลำดับภาพเล่าเรื่อง และรูปแบบทางศิลปกรรมของลวดลายประดับที่สลักบนฝาปะกนศาลาการเปรียญวัดแก้วไพฑูรย์ โดยเปรียบเทียบรูปแบบกับศิลปกรรมที่เกี่ยวข้อง ... -
งานจิตรกรรมเรื่องห้องสิน ภายในเก๋งนุกิจราชบริหาร พระราชวังบวรสถานมงคล(วังหน้า)
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Master's Report(Silpakorn University, 28/12/2017)The purpose of this research is to study the artwork of “Hong Sin", or "The Investiture of Gods” which was painted inside a Chinese pavilion named Nu Kit Ratcha Borihan in the Bangkok National Museum. Studying the painting ... -
งานช่างไทยใหญ่ : กรณีศึกษางานจิตรกรรมฝาผนังภายในวิหารวัดท่าข้าม อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2003)สารนิพนธ์ฉบับนี้มีจุดประสงค์ที่จะศึกษาสภาพสังคมและวัฒนธรรมล้านนา ซึ่งปรากฏในงานจิตรกรรมฝาผนังภายในวิหารวัดท่าข้าม อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้การวิเคราะห์ในเชิงประวัติศาสตร์และโบราณคดีประกอบกัน ผลการศึกษาพบว ... -
งานตกแต่งภายในพระอุโบสถวัดราชบพิธ สถิตมหาสีมาราม : การปรับเปลี่ยนสู่ศิลปะตะวันตกในสมัยรัชกาลที่ 5
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2012)ในการค้นคว้าฉบับนี้ได้ศึกษาถึงลักษณะพิเศษอันเป็นเอกลักษณ์ที่พบในการประดับตกแต่งสถาปัตยกรรมของพระอุโบสถวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม โดยเน้นจุดมุงหมายของการศึกษาไปที่ลักษณะของการประดับตกแต่งอย่างตะวันตกภายในของพระอุโบสถ ... -
งานบูรณปฏิสังขรณ์เจดีย์โดยครูบาศรีวิชัยในจังหวัดเชียงใหม่
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2012)การค้นคว้าอิสระฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายศึกษางานบูรณปฏิสังขรณ์เจดีย์โดยครูบาศรีวิชัยในจังหวัดเชียงใหม่ โดยการศึกษาครั้งนี้จะทำการวิเคราะห์เจดีย์ที่ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์โดยครูบาศรีวิชัย จากกลุ่มตัวอย่างเจดีย์ ประมาณ 11 องค์ ... -
งานวิเคราะห์ในมุมมองใหม่ : แนวคิดงานจิตรกรรมภาพปริศนาธรรมในรัชกาลที่ 4
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2009)การวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อมองอดีตผ่านงานจิตรกรรมฝาผนัง โดยทำการศึกษารูปแบบและงานเชิงช่างของภาพจิตรกรรมฝาผนังแบบปริศนาธรรม รวมถึงแหล่งบันดาลใจของภาพปริศนาธรรม ซึ่งใช้หลักการอุปมาธรรมทางพระศาสนาเป็นแนวทาง ... -
งานศิลปกรรมในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ 18 ถึงก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(Silpakorn University, 12/7/2019)The results of the research showed that 1. Buddha images that appear to be a combination of Khmer art and Hariphunchai art appearing in contemporary times with Jayavarman 7th, still in power in the Chao Phraya Basin ... -
จากทวารบาลแบบประเพณีมาสู่ทวารบาลแบบจีนในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2012)จากคติดั้งเดิมของไทยนิยมสร้างทวารบาลแบบไทย มีลักษณะเป็นเทวดาถือพระขรรค์ตรงบานประตูทางเข้าของศาสนาสถาน แต่รูปแบบคติการสร้างเริ่มเปลี่ยนแปลงไปเพราะมีการรับอิทธิพลจีนเข้ามาผสมผสานกับงานช่างไทย ส่งผลให้ในสมัยอยุธยาเริ่มปรา ...