Search
Now showing items 1-10 of 12
ที่ว่างที่สร้างให้เกิดความยั่งยืนทางสังคม : กรณีศึกษาความสัมพันธ์ของพื้นที่ว่าง และการปฏิบัติการทางสังคม ของพื้นที่เมืองเก่าลำพูน ตำบลในเมือง จังหวัดลำพูน
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2011)
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของพื้นที่ว่าง และกิจกรรมที่เกิดขึ้นของเมืองในระดับภูมิภาค กรณีศึกษากิจกรรมที่เกิดขึ้นในพื้นที่ว่างสาธารณะของเมืองเก่าลำพูน โดยใช้ชุดทฤษฎีเชิงสัณฐานวิทยาที่เกี่ยวข้องด้วยเรื ...
ระยะห่างระหว่างอาคารชุดพักอาศัยที่เหมาะสมในการระบายอากาศ : กรณีศึกษาโครงการบ้านเอื้ออาทร นครปฐม
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2010)
สถาปัตยกรรมเงา : การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเงาและที่ว่างทางสถาปัตยกรรม
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2004)
การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา การทดลองสร้างที่ว่างทางสถาปัตยกรรมจากสิ่งที่จับต้องไม่ได้ (Intangible) ซึ่งในที่นี้ได้แก่ “เงา” และรวบรวมลักษณะทางด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องกับเงาทั้ง ลักษณะทางกายภาพ (Physical), ...
ที่ว่างที่สร้างให้เกิดความยั่งยืนทางสังคม : กรณีศึกษาความสัมพันธ์ของพื้นที่ว่าง และการปฏิบัติการทางสังคม ของพื้นที่เมืองเก่าลำพูน ตำบลในเมือง จังหวัดลำพูน
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2011)
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาความสัมพันธ์ของพื้นที่ว่างและกิจกรรมที่เกิดขึ้นของเมืองในระดับภูมิภาค กรณีศึกษากิจกรรมที่เกิดขึ้นในพื้นที่ว่างสาธารณะของเมืองเก่าลำพูน โดยใช้ชุดทฤษฏีเชิงสัณฐานวิทยาที่เกี่ยวข้องด้วยเ ...
การเคลื่อนไหวในสถาปัตยกรรม
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2006)
การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของมนุษย์ในที่ว่างทางสถาปัตยกรรมทั้งทางด้านกายภาพและ ความหมายในเชิงนามธรรม ตลอดจนแนวความคิดและแนวทางการออกแบบการเคลื่อนไหว เพื่อตอบสนองการรับรู้ที่ว่าง ...
สถาปัตยกรรมโลกของเด็ก : เด็กกับการสร้างสรรค์ที่ว่างทางสถาปัตยกรรม
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2006)
การศึกษาครั้งนี้ได้แรงบันดาลใจมาจากประสบการณ์ที่ได้พบเห็นการสร้างสรรค์ที่ว่างของเด็ก ซึ่งเกิดมาจากจินตนาการอันบริสุทธิ์ตามธรรมชาติของเด็กเอง และปราศจากข้อจำกัดทางความคิดใดๆ ทั้งสิ้น จากความประทับใจในประเด็นนี้ทำให้เกิดคำถามขึ้นว่า ...
การเชื่อมโยงของพื้นที่ว่างเสมือน ‪(Virtual space)‬ สู่พื้นที่ว่างทางสถาปัตยกรรม ‪(Real Space)‬
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2007)
จุดประสงค์ของการทำวิทยานิพนธ์ในครั้งนี้ เพื่อทำการศึกษาหาความเป็นไปได้ของการสร้างพื้นที่ว่างทางสถาปัตยกรรมที่สอดคล้องและตอบสนองต่อสังคมโลกาภิวัฒน์ บนพื้นฐานของแนวความคิดที่ว่า “เมื่อวิถีชีวิตของมนุษย์เปลี่ยนไป สถาปัตยกรร ...
สถาปัตยกรรมบนพื้นที่ว่างกับช่วงเวลาว่างของชีวิตคนเมือง
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2006)
ในปัจจุบันสภาพเศรษฐกิจและสังคมในกรุงเทพมหานครมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว สังเกตได้จากสิ่งก่อสร้างต่างๆ ทั้งอาคาร ถนน ระบบขนส่งมวลชน รวมถึงระบบสาธารณูปโภคต่างๆ ที่มีมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งล้วนมีผลต่อสภาพความเป็นอยู่ที่เปลี่ยนไป ...
พื้นที่เปลี่ยนผ่านจากสภาวะหนึ่งไปสู่อีกสภาวะหนึ่งระหว่างพื้นที่ปัจจุบันกับพื้นที่หลังความตาย
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2012)
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดลองและออกแบบที่ว่างทางสถาปัตยกรรม ที่มีผลต่อสภาวะอารมณ์ความรู้สึกและกระบวนการด้านความคิด ในด้านกายภาพและความหมายเชิงนามธรรมของพื้นที่ประกอบพิธีกรรมเกี่ยวกับการตายในพุทธศาสนา ...
การซ้อนทับของหน้าที่ใช้สอยในงานสถาปัตยกรรม
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2014)
สถาปัตยกรรม ถูกออกแบบมาพร้อมกับหน้าที่ในการใช้งานเพื่อตอบสนองต่อความต้องการ และอำนวยความสะดวกต่อผู้ที่จะเข้ามาใช้งาน ซึ่งประกอบไปด้วยองค์ประกอบ และพื้นที่ต่างๆที่มีหน้าที่ในการใช้งาน(Function) ที่แตกต่างกันออกไป ...