เปรียบเทียบวรรณคดี เรื่องท้าวสีธน (สุธน) ของ ภาคอีสานกับภาคต่าง ๆ ในประเทศไทยและภาษามอญ

Other Title:
A comparative study of the North-Eastern Thai verions of Tao Sidhom with the Northern, Southern, Central Thai and Mon verions
Author:
Date:
1981
Publisher:
มหาวิทยาลัยศิลปากร
Abstract:
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาเปรียบเทียบเนื้อเรื่องวรรณคดีท้าวสีธน ลักษณะอักษร อักขรวิธี รวบรวมคติเตือนใจ คำคม และประเพณี ความเชื่อต่าง ๆ ที่ปรากฏในเนื้อเรื่องท้าวสีธนแต่ละภาคในประเทศไทยและภาษามอญ โดยใช้ฉบับอักษรธรรมอีสานเป็นหลัก โดยการถ่ายทอดตัวอักษรเป็นภาษากลาง และสรุปเนื้อเรื่องให้เห็นความสำคัญ และเปรียบเทียบเนื้อเรื่องตอนสำคัญ ๆ ตัวอักษร รูปสระต่าง ๆ วัฒนธรรม ที่มีในเรื่องของภาษาต่าง ๆ
การวิจัยแบ่งเป็น 6 บท บทที่ 1 เป็นบทนำ กล่าวถึง ความเป็นมาของปัญหา ความมุ่งหมายในการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย วิธีดำเนินการวิจัย งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 เนื้อเรื่องท้าวสีธนฉบับต่าง ๆ บทที่ 3 แบบอักษรและอักขรวิธีที่ปรากฏในเอกสารที่นำมาใช้เป็นข้อมูล บทที่ 4 ข้อแตกต่างที่ปรากฏในท้าวสีธนฉบับต่าง ๆ อุปนิสัยตัวละคร ชื่อสถานที่ เส้นทางที่พระสุธนออกตามหานางมโนราห์ แบบของการประพันธ์ บทที่ 5 รวบรวม คติเตือนใจ คำคม ประเพณีต่าง ๆ ความเชื่อที่ปรากฏในเนื้อเรื่อง บทที่ 6 บทสรุปและข้อเสนอแนะ The purpose of this research is to study and compare different versions of Tao Sidhon’ s story with special reference to their orthography and folkore. This comparative study is mainly based on one of the “Dham Alphabet” versions of north-eastern Thailand. First, the writer transliterated, latter by latter, the three north-eastern versions as well as the northern, southern and Mon versions into the central Thai dialect. These versions together with the central Thai version were carefully analyzed. Then the whole story was summarized and the main ideas were pointed out. Finally, the main parts of the story and the orthography and folklore of these various versions were compared.
This research is divided into six chapters. They are : Chapter 1 : Introduction : The Origin and the importance of the story, the purposes of the research, the scope of the research, the research procedures, the source of the research and the benefits which are expected to be obtained. Chapter 2 : The story of Tao Sidhon written in various Thai dialects and the Mon language. Chapter 3 : The comparison of the differences among the orthography in each dialect. Chapter 4 : The comparison of the story in general : names and characteristics of the actors, and place name. Chapter 5 : Proverbs and folklore found in the story. Chapter 6 : Conclusions and suggestions for further research.
Description:
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม (จารึกภาษาตะวันออก) -- มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2524 Thesis (M.A. (Oriental epigraphy)) -- Silpakorn University, 1981)
Type:
Discipline:
สาขาวิชาจารึกภาษาไทย
Collections:
Total Download:
130