Browsing Department of Archaeology by Title
Now showing items 244-263 of 341
-
ประติมากรรมดินเผาประดับสถาปัตยกรรมในสมัยสุโขทัย : ศึกษาจากข้อมูลในเขตจังหวัดสุโขทัย
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 1994)วัฒนธรรมการใช้ประติมากรรมดินเผาประดับสถาปัตยกรรมในบริเวณประเทศไทยมีมาตั้งแต่สมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์แล้ว แต่สมัยสุโขทัยจัดเป็นระยะที่มีการใช้ชิ้นส่วนประดับสถาปัตยกรรมที่ทำจากดินเผารูปแบบต่าง ๆ และกับส่วนต่าง ๆ ของอาคารมากที่สุด ... -
ประติมากรรมรูปสิงห์ในแบบศิลปะลพบุรีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 1982)ประติมากรรมรูปสิงห์ในแบบศิลปะลพบุรีที่พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้แบ่งเป็นสองประเภท คือ ประติมากรรมนูนสูงและประติมากรรมกรรมนูนต่ำ ประติมากรรมทั้งสองประเภทสร้างขึ้นด้วยหินทรายตามอิทธิพลของแบบศิลปะเขมร มาตั้งแต่สมัยก่อ ... -
ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยจากศิลาจารึก
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 1975)การศึกษาประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย เท่าที่เผยแพร่ออกมาแล้วนั้น มักจะมุ่งหน้าศึกษาแต่เรื่องลำดับกษัตริย์ในราชวงศ์สุโขทัยเท่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การตีความจากศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง นับว่ามีผู้ทำการค้นคว้ามากที่สุด ... -
ประเพณีการฝังศพของชุมชนโบราณในลุ่มแม่น้ำชี : กรณีศึกษาชุมชนโบราณเมืองฟ้าแดดสงยาง
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 1993)ที่ราบลุ่มแม่น้ำชีตอนกลาง โดยมีแม่น้ำชี ลำน้ำปาวไหลผ่านเมืองทางด้านทิศเหนือและทิศใต้ของเมือง ซึ่งมีพื้นที่เหมาะแก่การตั้งถิ่นฐานอยู่อาศัยเป็นอย่างมาก ปัจจุบันร่องรองชองเมืองโบราณฟ้าแดดสงยางอยู่ในเขตบ้างเสมา ตำบลหนองแปน ... -
ประเพณีประดิษฐ์กับการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม : กรณีศึกษางานเทศกาลประเพณีแซนโฏนตา อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2013)งานเทศกาลประเพณีเป็นทรัพยากรวัฒนธรรมที่มีบทบาทสำคัญต่อกระบวนการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมของคนท้องถิ่น ในด้านการรื้อฟื้นและพัฒนาการใช้ทรัพยากรวัฒนธรรมท้องถิ่นร่วมสมัย ที่สร้างพลังและจิตสำนึกร่วมของคนท้องถิ่น โดยการวิจัยครั ... -
ปราสาทสด๊อกก๊อกธม : ปราสาทเขมรทรงพุ่มรุ่นแรกในประเทศไทย
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2003)การศึกษาเรื่องราวของปราสาทสด๊อกก๊อกธมนั้น เราได้ทราบจากหลักฐานที่ปรากฏในข้อความจากศิลาจารึกสด๊อกก๊อกธม 1 ซึ่งได้ระบุศักราช พ.ศ. 1480 ซึ่งเป็นปีสุดท้ายของรัชกาลพระเจ้าชัยวรมันที่ 4 กล่าวถึงการกัลปนาข้าทาศให้แก่ศาสนสถ ... -
ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการตั้งถิ่นฐานของชุมชนเมืองโบราณ ศรีสัชนาลัย อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2010)การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เห็นถึงอิทธิพลของปัจจัยสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและทางด้านวัฒนธรรมที่มีผลต่อการตั้งถิ่นฐานของชุมชนโบราณเมืองศรีสัชนาลัย โดยอาศัยหลักฐานทางเอกสารและการสำรวจ รวมไปถึงผลการขุดค้นทางโบราณคด ... -
ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการตั้งถิ่นฐานของเมืองโบราณสมัยทวารวดี บริเวณชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 1988)วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานของชุมชนโบราณสมัยทวารวดี บริเวณชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก หรือในบริเวณที่ปัจจุบันคือพื้นที่ลุ่มแม่น้ำบางปะกง ซึ่งประกอบด้วย ... -
พระพิมพ์ดินเผาสมัยทวารวดีที่นครปฐม
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 1981)วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ทำการศึกษาเกี่ยวกับ พระพิมพ์ดินเผาสมัยทวารวดี ซึ่งพบที่เมืองนครปฐมโบราณจำนวน 30 องค์ และเปรียบเทียบกับพระพิมพ์ แหล่งอื่นกับพระพุทธรูปที่เกี่ยวข้องอีก 15 องค์ เพื่อที่ศึกษาทางด้านรูปแบบ เรื่องราว, ... -
พระพุทธรูปบุทอง-บุเงินที พบบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนในประเทศไทย
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2014)วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดอายุและรูปแบบ คติการสร้าง และเทคนิคการสร้างพระพุทธรูปบุทอง – บุเงินที่พบบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนในประเทศไทย ผลการวิจัยพบว่าพระพุทธรูปบุทอง - บุเงินมีอายุระหว่างช่วงพุทธศตวรรษที่ ... -
พระโพธิสัตว์ที่พบในเมืองโบราณสมัยทวรวดี ที่ตั้งอยู่ในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2011)การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาลักษณะทางประติมากรรม การกำหนดอายุของพระโพธิสัตว์เพื่อให้ทราบถึงคติความเชื่อตลอดจนการเคารพนับถือและการสร้าง เนื้อหาของสารนิพนธ์ฉบับนี้ แบ่งเป็น 4 บท บทแรกจะกล่าวถึงความสำคัญและความ ... -
พัฒนาการของชุมชนโบราณบริเวณลุ่มน้ำลำสะแทด ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 : กรณีศึกษาแหล่งโบราณคดีบ้านกระเบื้อง อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา และการสำรวจพื้นที่โดยรอบ
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2013)งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในลุ่มน้ำลำสะแทด ซึ่งเป็นลุ่มน้ำสาขาของลุ่มแม่น้ำมูลตอนบนในช่วงเวลาก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 ผลการศึกษาสามารถจัดลำดับพัฒนาการออกได้ 5 ระยะ ดังนี้ 1. สมัยก่ ... -
พัฒนาการของชุมชนโบราณในจังหวัดพัทลุงก่อนพุทธศตวรรษที่ 24 จากหลักฐานโบราณคดี
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2008)วิทยานิพนธ์นี้มีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่อศึกษาพัฒนาการทางวัฒนธรรมและบทบาทความสำคัญของชุมชนโบราณในจังหวัดพัทลุงก่อนพุทธศตวรรษที่ 24 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาได้มาจากหลักฐานโบราณคดีประเภทต่าง ๆ ได้แก่ โบราณวัตถุ โบราณสถานที่พ ... -
พัฒนาการของเครื่องถ้วยเขมรสมัยเมืองพระนคร
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2009)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความแตกต่างของพัฒนาการเครื่องถ้วยเขมรสมัยเมืองพระนครระหว่างกลุ่มเตาพนมกุเลนในราชอาณาจักรกัมพูชาและกลุ่มเตาพนมดงเร็กในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของราชอาณาจักรไทย ทั้งวิธีผลิต วิธีจัดวาง ... -
พัฒนาการของแผนผังโบราณสถานในเมืองโบราณเชียงแสนและเชียงแสนน้อย
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2013)งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการของแผนผังโบราณสถานในเมืองโบราณเชียงแสนและเชียงแสนน้อย โดยใช้ข้อมูลการขุดค้นขุดแต่งทางโบราณคดีจากโบราณสถาน 45 แห่งของเมืองโบราณเชียงแสนและเชียงแสนน้อย ผลการศึกษาสามารถแบ่งแผนผั ... -
พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณตามลำแม่น้ำบางขาม ตำบลบางพึ่ง อำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2001)การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในบริเวณลุ่มแม่น้ำบางขาม เพื่อทราบถึงพัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณที่ตั้งอยู่ในบริเวณลุ่มแม่น้ำบางขาม โดยทำการสำรวจแหล่งโบราณคดีที่กระจายตัวอยู ... -
พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณเวียงสระ จังหวัดสุราษฏร์ธานีจากหลักฐานทางโบราณคดี
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2012)การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาหลักฐานทางโบราณคดีที่พบจากการสำรวจ และการขุดค้นในบริเวณชุมชนโบราณเวียงสระและแหล่งโบราณใกล้เคียงในลุ่มแม่น้ำตาปี 2) สร้างภาพความเป็นอยู่หรือสิ่งแวดล้อมในอดีตและพัฒนาการทางวัฒนธ ... -
พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในอำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 24
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2012)งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในอำเภอพุนพินในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 24 โดยใช้ข้อมูลจากหลักฐานโบราณคดี ผลการศึกษาสามารถจัดลำดับพัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณแห่งนี้ได้ 4 ระยะคือ ระยะที่ ... -
พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในอำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2014)งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการทางวัฒนธรรมชุมชนโบราณไชยาก่อนพุทธศตวรรษที่ 24 โดยใช้หลักฐานทางโบราณคดี สามารถแบ่งพัฒนาการเป็น 3 ระยะใหญ่ คือ 1) สมัยก่อนประวัติศาสตร์พบแหล่งโบราณคดียุคหินใหม่ราว 2,500 ... -
พัฒนาการทางวัฒนธรรมของชุมชนโบราณในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทยก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2010)วิทยานิพนธ์เล่มนี้มีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อศึกษาพัฒนาการทางวัฒนธรรม ของชุมชนโบราณก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง ซึ่งครอบคลุมพื้นที่จังหวัดสงขลา ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส โดยแบ่งพื้นที่ทางวัฒนธรรมออกตามสภาพลุ่มน้ำ ...