Browsing Department of Archaeology by Title
Now showing items 219-238 of 341
-
คติความเชื่อของชาวจีนในสมัยรัตนโกสินทร์ : กรณีศึกษาประติมากรรมรูปเคารพ
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2010)การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประติมากรรมรูปเคารพในศาลเจ้าแต่ละแห่งเพื่อศึกษาเปรียบเทียบประติมากรรมรูปเคารพของศาลเจ้าในด้านต่าง ๆ เช่น การนับถือศาสนา ความหลากหลาย ความนิยม การให้ความสำคัญ รวมถึงศึกษาเปรียบ ... -
คติความเชื่อเรื่องพระราหูในวัฒนธรรมลาวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2010)วัตถุประสงค์สำหรับการค้นคว้าอิสระฉบับนี้เป็นการศึกษาคติความเชื่อเรื่องพระราหูในวัฒนธรรมลาวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทั้งนี้สืบเนื่องจากพระราหูเป็นหนึ่งในเทพนพเคราะห์อันเป็นที่รู้จักกันดีในประเทศอินเดียและปรากฏอิทธิพลในเอเ ... -
คติความเชื่อและรูปแบบ "มกร" ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 ในประเทศไทย
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2009)วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาถึงคติความเชื่อและลักษณะรูปแบบของมกรที่พบในดินแดนประเทศไทยก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 วิธีวิจัยเริ่มจากการศึกษาตั้งแต่ลัทธิการบูชาสัตว์ที่มีอยู่ในธรรมชาติจนกลายเป็นสัตว์ผสมที่มีความพิ ... -
คติความเชื่อและรูปแบบของพระพิฆเนศวร์ที่พบในประเทศไทย
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 1984)วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาถึงคติความเชื่อและรูปแบบของพระพิฆเนศวร์ที่พบในประเทศไทย โดยใช้หลักฐานทางเอกสารและโบราณคดี เราได้พบว่ามีร่องรอยหลักฐานทางโบราณคดีเกี่ยวกับพระพิฆเนศวร์จำนวนมาก ตั้งแต่สมัยก่อนไท ... -
คตินิยมในการสร้างพระพุทธรูปทรงเครื่องในสมัยอยุธยา
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 1989)การสร้างพระพุทธรูปทรงเครื่องปรากฏขึ้นเป็นครั้งแรกในศิลปะอินเดีย ราวพุทธศตวรรษที่ 14 ด้วยการเติมเครื่องทรงของกษัตริย์บางชิ้นให้กับพระพุทธรูป ตามคติพุทธศาสนามหายานที่ถือว่า พระพุทธเจ้าทรงอยู่ในสภาวะเหนือมนุษย์ ... -
คติเรื่องครุฑจากศิลปกรรมแบบเขมรในประเทศไทย
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 1984)วัตถุประสงค์ของการศึกษา คติเรื่องครุฑจากศิลปกรรมแบบเขมรในประเทศไทยที่ได้เก็บรักษาและจัดแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค 7 แห่ง และศาสนสถาน 5 แห่ง เป็นการค้นคว้าถึงคติเรื่องครุฑและบทบาทของคร ... -
คติเรื่องช้างในพุทธศาสนาจากหลักฐานศิลปะโบราณวัตถุแบบทวารวดี
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 1981)วัตถุประสงค์ของการศึกษา คติเรื่องช้างในพุทธศาสนาจากหลักฐานศิลปะโบราณวัตถุแบบทวารวดีที่ได้เก็บรักษาและจัดแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาคบางจังหวัดรวม 6 แห่ง เป็นการค้นคว้าถึงคติเรื่องช้างและบทบ ... -
ความจริงแท้ในการจัดการท่องเที่ยวเชิงโหยหาอดีต : กรณีศึกษาชุมชนตลาดสามชุกร้อยปี จังหวัดสุพรรณบุรี
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2012)ความจริงแท้กลายเป็นประเด็นถกเถียงที่สำคัญในการศึกษาด้านการท่องเที่ยวมานานกว่าทศวรรษ โดยมีข้อสันนิษฐานว่านักท่องเที่ยวแสวงหาความจริงแท้ในการท่องเที่ยวและค้นหาสถานที่ซึ่งมีความแตกต่างจากวิถีชีวิตปัจจุบัน ด้วยเหตุนี้การโหยหาอดีต ... -
ความสัมพันธ์ของชุมชนโบราณในจังหวัดชัยนาทกับชุมชนภายนอกในช่วงพุทธศตวรรษที่ 19 - ต้นพุทธศตวรรษที่ 24
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2012) -
ความสัมพันธ์ของชุมชนโบราณในเขตจังหวัดลพบุรีกับชุมชนภายนอกในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 18
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2001)การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของชุมชนโบราณในเขตจังหวัดลพบุรีกับชุมชนโบราณในภูมิภาคอื่นและต่างชาติ โดยทำการศึกษาแหล่งโบราณคดีในเขตจังหวัดลพบุรีด้วยกันทั้งสิ้น 27 แหล่ง เพื่อทราบถึงความสัมพันธ์ของช ... -
ความสัมพันธ์ของมอญ พม่า และสุโขทัย ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 19-20
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 1976)วิทยานิพนธ์นี้มีจุดประสงค์ที่จะศึกษา เรื่องความเป็นมาของอาณาจักรมอญ พม่า และความสัมพันธ์ของมอญ พม่า กับสุโขทัยในสมัยพ่อขุนรามคำแหง – พระเจ้าลิไท พร้อมทั้งเป็นการรวบรวมข้อมูลและที่มาของความรู้เกี่ยวกับเรื่องนี้ วิธี ... -
ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมระหว่างรัฐโอริสสากับประเทศไทย: ศึกษาจากหลักฐานทางโบราณคดี
Type: Article(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2012-07)เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่าอารยธรรมอินเดียได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งรวมถึงดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบันดังจะเห็นได้จากแบบแผนการดำเนินชีวิตโดยเฉพาะการนับถือศาสนานอกจากนี้ยังได้พบโบราณวัตถุห ... -
ความสำคัญของวัดที่มีอาคารทรงตำหนักในสมัยอยุธยาตอนปลาย : กรณีศึกษาวัดโพธิ์ประทับช้าง วัดมเหยงคณ์ วัดกุฎีดาว วัดพุทไธศวรรย์และพระตำหนักคำหยาด
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2010)การค้นคว้าอิสระชิ้นนี้ทำการวิจัยเรื่องความสำคัญของวัดที่เป็นโบราณสถานซึ่งมีอาคารทรงตำหนักหรืออาคารก่ออิฐถือปูนสูง 2 ชั้น ปรากฏอยู่โดยทำการศึกษาจากวัดโบราณ จำนวน 5 แห่ง ซึ่งปรากฏหลักฐานทั้งทางด้านสถาปัตยกรรม จิตรกรรม ... -
ความสำคัญของเมืองลพบุรีในฐานะเป็นแหล่งกระจายวัฒนธรรมทวาราวดี บริเวณลุ่มแม่น้ำป่าสัก
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 1986)ตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิทางโบราณคดี ประวัติศาสตร์ศิลปะ และมานุษยวิทยา ได้เคยศึกษาค้นคว้าและเสนอข้อคิดเห็นไว้ว่าเมืองโบราณลพบุรี เป็นเมืองที่มีความสำคัญเป็นศูนย์กลางความเจริญแห่งหนึ่งในสมัยทวารวดี ในบริเวณภาคกลางของประเทศไทย ... -
ความเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้กับโครงการรถไฟฟ้าใต้ดินสายสีน้ำเงินสถานีวัดมังกรกมลวาส
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2013)งานวิจัยเพื่อศึกษารูปแบบความเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ในมิติของการพัฒนาของชุมชนเมือง ในการศึกษาวิจัยผู้วิจัยได้ผสมแนวคิดจากต่างประเทศ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง และตัวอย่างแนวทางการสงวนรักษาที่ได้รับก ... -
ความเป็นสังคมนานาชาติของพระนครศรีอยุธยาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึง ค.ศ. 1767
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 1999) -
งานช่างฝีมือในยุคเหล็กของวัฒนธรรมโลงไม้บนพื้นที่สูงในอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
Type: Article(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2014-01)วัฒนธรรมโลงไม้ มีอายุระหว่าง 2,600-1,000 ปีมาแล้ว เป็นตัวแทนของพิธีกรรมการฝังศพของชุมชนก่อนประวัติศาสตร์ในยุคโลหะสมัยเหล็กบนพื้นที่สูงในอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน นอกจากนี้ยังพบกระจายในจังหวัดเชียงใหม่และกาญจนบุรี ... -
จิตรกรรมฝาผนังสมัยต้นรัตนโกสินทร์ : วัดไผ่ขอน้ำ พิษณุโลก
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 1975)ความหมายของคำว่า “จิตรกรรม” ตามนัยแห่งหนังสือวิทยานิพนธ์เล่มนี้ หมายถึงภาพเขียนสี ซึ่งรวมถึงภาพลายเส้นด้าย ทั้งนี้เพราะภาพลายเส้นอาจหมายถึงการเขียนภาพก่อนการลงสี หรือที่จิตรกรทำเส้นลงบนวัตถุอื่น เช่น ภาพลายเส้นบนแ ... -
ชีวิตชาวบ้านในจิตรกรรมฝาผนังจังหวัดสระบุรี
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 1986)การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของชาวบ้านรวมทั้งวัฒนธรรมประเพณีและสภาพแวดล้อมของเมืองสระบุรี ที่ปรากฏในจิตรกรรมฝาผนังภายในอุโบสถของวัดสี่แห่งได้แก่ วัดจันทบุรี วัดสมุหประดิษฐาราม อำเภอเสาไห้ ... -
ชุมชนโบราณที่มีคู-คันดินล้อมรอบในลุ่มน้ำแม่อิง : การศึกษาเชิงภูมิศาสตร์การตั้งถิ่นฐานและความสัมพันธ์ในระบบโครงสร้างสังคมเมือง
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 1995)ลุ่มน้ำแม่อิง เป็นที่ตั้งของเมืองพะเยาซึ่งเป็นเมืองสำคัญเมืองหนึ่งในภาคเหนือในช่วงพุทธศตวรรษที่ 19 แต่ในการศึกษาทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีในภูมิภาคนี้มีปัญหาที่ยังไม่เป็นที่ยุติเกี่ยวกับความเป็นมาของสังคมเมืองในช่วงก่อนหน้านั้น ...