• English
    • ไทย
  • นักวิชาการ มศก.
  • วารสารอิเล็กทรอนิกส์ มศก.
  • DSpace บัณฑิตวิทยาลัย
  • Questionnaire
  • ไทย 
    • English
    • ไทย
  • เข้าสู่ระบบ

ค้นหาขั้นสูง

ค้นหาขั้นสูง
ดูชิ้นงาน 
  •   หน้าแรก
  • Faculty of Archaeology
  • Department of Art History
  • Art History
  • Theses (Bachelor's degree) - Art History / สารนิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะ
  • ดูชิ้นงาน
  •   หน้าแรก
  • Faculty of Archaeology
  • Department of Art History
  • Art History
  • Theses (Bachelor's degree) - Art History / สารนิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะ
  • ดูชิ้นงาน
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

ค้นดู

ทั้งหมดในคลังข้อมูลชุมชนและผลงานทางวิชาการวันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญประเภทผลงานคอลเล็คชั่นนี้วันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญประเภทผลงาน

บัญชีผู้ใช้

เข้าสู่ระบบ

สถิติสำคัญ

คำค้นสูงสุดในช่วงเวลา

คติความเชื่อ รูปแบบและการจัดวางประติมากรรมศาลเจ้า : ศาลเจ้าหน่าจาซาไท้จื้อ ตำบลอ่างศิลา อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี

Thumbnail
ผู้แต่ง:
ชนิชา นุ่มพุ่ม
หัวเรื่อง:
ศาลเจ้า -- ไทย -- ชลบุรี
ศาลเจ้าหน่าจาซาไท้จื้อ (ชลบุรี)
ประติมากรรมพุทธศาสนา -- ไทย -- ชลบุรี
เทพปกรณัมจีน
มหาวิทยาลัยศิลปากร. ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ -- สารนิพนธ์
วันที่:
2015
สำนักพิมพ์:
มหาวิทยาลัยศิลปากร
บทคัดย่อ:
การศึกษา “คติความเชื่อ รูปแบบและการจัดวางประติมากรรมศาลเจ้า : ศาลเจ้าหน่าจาซาไท้จื้อ ตาบลอ่างศิลา อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี” นั้นมุ่งเน้นการศึกษารูปแบบและจัดวางประติมากรรมภายในศาลเจ้าหน่าจาซาไท้จื้อ ทั้งตัวองค์ประธานหลักของศาลอย่างเทพเจ้าหน่าจาถึงความเป็นมา และความเชื่อที่มีต่อ เทพหน่าจาทั้งในประเทศจีน รวมถึงในประเทศไทยเองเพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ ความเหมือนหรือแตกต่างในการจัดวางประติมากรรมทั้งหมดที่สาคัญภายในศาลเจ้าแห่งนี้ และศาลเจ้าหน่าจาแห่งอื่นในประเทศไทย ผลจากการศึกษาสรุปได้ว่าเทพหน่าจาเป็นเทพที่มีการนับถือในประเทศจีนมาเป็นเวลานาน ปรากฏหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษรในช่วงปลายสมัยราชวงศ์หมิง ต่อมาความเชื่อเรื่องเทพหน่าจาได้เข้ามายังประเทศไทย โดยในช่วงต้นได้ผสมผสานกับเทพโกมินทร์กุมารและเกิดเป็นศาลเจ้าโกมินทร์ในช่วงก่อน พ.ศ. 2534 ภายหลังจากความนิยมในเทพนาจาได้ฟื้นกลับมาเป็นที่นิยมในประเทศจีนเอง ประเทศไทยเองก็เช่นกัน จึงเกิดความนิยมสร้างศาลเจ้านาจาในตั้งแต่ช่วง พ.ศ. 2534 เป็นต้นมา ศาลเจ้านาจาซาไท้จื้อแห่งนี้เมื่อแรกสร้างในปี พ.ศ. 2534 ก่อนมีการสร้างขึ้นใหม่เป็นจานวน 4 ชั้น ตามรูปแบบปัจจุบันในปี 2542 โดยมีแนวความคิดในการจัดวางที่มีความเชื่อโยงสัมพันธ์กับทั้งประเทศจีนเอง และมีรูปแบบแนวความคิดที่ผสมผสานแตกต่างออกไป ซึ่งมีทั้งความเหมือนและแตกต่างจากศาลเจ้าหน่าจาในประเทศไทยที่สร้างภายในระยะเวลาใกล้เคียงกันนั่นเอง ซึ่งปัจจัยในการกาหนดแนวความคิดและรูปแบบในแต่ละศาลซึ่งแตกต่างกัน อาจเกิดจากลักษณะของท้องถิ่นแต่ละที่ตั้ง และความเชื่อของคนในแต่ละพื้นที่ที่ศาลตั้งอยู่ รวมทั้งบริบททางสังคม และเวลาอีกด้วย ภาค
ประเภทผลงาน:
Thesis
ชื่อปริญญา:
ศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชา:
ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
URI:
http://www.sure.su.ac.th/xmlui/handle/123456789/14677
เจ้าของลิขสิทธิ์:
มหาวิทยาลัยศิลปากร
คอลเล็คชั่น:
  • Theses (Bachelor's degree) - Art History / สารนิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะ [26]
จำนวนดาวน์โหลด:
608
ดู/เปิด
BA_Chanicha_Numpum.pdf (3.774Mb)
Metadata
แสดงรายการชิ้นงานแบบเต็ม

Copyright  ©  2021 Silpakorn University Central Library All Rights Reserved.
ติดต่อเรา
Theme by 
Atmire NV
 

 


Copyright  ©  2021 Silpakorn University Central Library All Rights Reserved.
ติดต่อเรา
Theme by 
Atmire NV