Browsing จุลนิพนธ์ – เทคโนโลยีการผลิตสัตว์น้ำ / Bachelor's degree Theses - Aquatic Animal Production Technology by Title
Now showing items 1-12 of 12
-
การศึกษาประสิทธิภาพของ Ethanol Formalin และ Buffer formalin ต่อ คุณภาพการเก็บรักษาไข่ปลานิล (Oreochromis niloticus)
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2014)การศึกษาประสิทธิภาพของ Ethanol Formalin และ Buffer formalin ต่อคุณภาพการเก็บ รักษาไข่ปลานิลในระยะที่ 1 และระยะที่ 3 ใช้ไข่ปลานิลจำนวน 2,100 ฟอง แบ่งการทดลองออกเป็น 14 ชุดการทดลอง ชุดการทดลองละ 3 ซ้ำ แต่ละซ้ำใช้ไข่ปลานิลจำนวน ... -
การศึกษาอัตราการเจริญเติบโตของปลานิลโดยใช้สารสกัดไคโตซานจากเปลือก กุ้งขาว, เปลือกปูทะเล และเปลือกหอยเชอรี่
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2014)การทดลองสกัดไคติน-ไคโตซานพบว่า ไคติน-ไคโตซานที่เตรียมจากเปลือกกุ้งขาวเปลือกปู ทะเลและจากเปลือกหอยเชอรี่พันธุ์สีเหลืองปนน้ําตาล มีคุณสมบัติเทียบเท่ากันตามมาตรฐาน หรือ Specification โดยทั่วไปที่ใช้ในกลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์ ... -
การเปรียบเทียบสูตรอาหารที่แตกต่างกันต่อการเจริญเติบโตและอัตราการรอดของไรน้ำนางฟ้า
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2014)การเปรียบเทียบสูตรอาหารที่แตกต่างกันต่อการเจริญเติบโตและอัตราการรอดของไรน้ำ นางฟ้า ทดลองโดยใช้สูตรอาหาร 4 สูตร กลุ่มละ 3 ซ้ำ คือ สูตรควบคุมสูตรน้ำหมักมะเฟืองสูตรน้ำ หมักตะลิงปลิง และสูตรไม่ใส่อามิ-อามิ เพื่อใช้ในการเลี ... -
ผลของ Bacillus sp. 3 ชนิดในการยับยั้งเชื้อ Vibrio parahaemolyticus
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2014)ทําการศึกษาประสิทธิภาพของ Bacillus 3 ชนิด (B. megaterium, B. subtilis, B.licheniformis) ในการยับยั้งเชื้อ Vibrio parahaemolyticus ในอาหารเลี้ยงเชื้อ และในกุ้งขาวแวนนาไมระยะโพสต์ลาร์วา ผลการทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อ B. ... -
ผลของการทำวัคซีนอะควาแวคสเตรปเอสเอวันต่อจำนวนเม็ดเลือดขาวแยกชนิดของ ปลานิลที่ได้รับโปรไบโอติกส์
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2014)การทดสอบผลของวัคซีนอะควาแวคสเตรปเอสเอวันต่อจำนวนเม็ดเลือดขาวแยกชนิดในปลา นิล (Oreochromis niloticus) โดยแบ่งการทดลองออกเป็น 2 ชุดการทดลอง คือ ชุดการทดลองที่ 1 ให้อาหารที่ไม่ผสมโปรไบโอติกส์และ ชุดการทดลองที่ 2 ... -
ผลของการใช้หญ้าเนเปียร์(Pennisetum purpureum)เป็นส่วนผสมในอาหารสำหรับเลี้ยงปลานิล(Oreochromis niloticus)
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2014)ศึกษาผลของการใช้หญ้าเนเปียร์เป็นส่วนผสมในสูตรอาหารสำหรับเลี้ยงปลานิลแปลงเพศที่มี น้ำหนักเฉลี่ย 4.88±0.67 กรัม ทดลองแบบสุ่มตลอด (CRD) 4 ชุดการทดลอง จำนวน 3 ซ้ำ โดย อาหาร 4 สูตร มีส่วนผสมของหญ้าเนเปียร์ในเป็นส่วนผสมในอาหาร ... -
ผลของสารสกัดกระเทียมต่อการยับยั้งเชื้อ Vibrio parahaemolyticus และ Vibrio harveyi
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2014)จากการศึกษาผลของสารสกัดกระเทียมโดยใช้เอทานอล 95% เป็นตัวทำละลาย ที่ระดับ ความเข้มข้น 100%, 50%, 25%, 12.5%, 6.25% และ 3.13% ต่อการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Vibrio parahaemolyticus และ Vibrio harveyi แบ่งการทดลองเป็น 2 การทดลอง ... -
ผลของสารสกัดจากเปลือกส้มโอต่อการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Vibrio harveyi และ Vibrio parahaemolyticus
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2014)วัตถุประสงค์ของงานวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาผลของสารสกัดจากเปลือกส้มโอต่อการยับยั้งเชื้อ Vibrio harveyi และ Vibrio parahaemolyticus ด้วยตัวท ำละลายเอทานอล 95% และเฮกเซน โดยศึกษาที่ระดับความเข้มข้นที่แตกต่างกัน 5 ระดับ ได้แก่ ... -
ผลของสารสกัดจากใบชาเขียวต่อการยับยั้งเชื้อVibrio parahaemolyticusในกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei)
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2014)ศึกษาผลของสารสกัดจากใบชาเขียวต่อการยับยั้งเชื้อ Vibrio parahaemolyticus โดยสกัด ใบชา 3 วิธี คือ การต้มใบชา 5 กรัม/น้ำ 100 มล. นาน 10 นาที การแช่ใบชา 10 กรัม/น้ำ 100 มล. ในน้ำอุณหภูมิ 70 oC นาน 15 นาที และการแช่ใบชา 10 ... -
ผลของสารสกัดสมุนไพรในการยับยั้งเชื้อVibrio parahaemolyticus
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2014)การศึกษาผลของสารสกัดสมุนไพร 5 ชนิดในการยับยั้งเชื้อ Vibrio parahaemolyticus จากการสกัดสารจากสมุนไพรทั้งหมด 5 ชนิด ได้แก่ เปลือกส้มโอ, เปลือกสับปะรด, มะระขี้นก, เปลือกทับทิม และใบฝรั่ง โดยการนําสมุนไพรมาสกัดด้วยตัวทําละลายเอทานอล ... -
ผลของสาหร่ายสไปรูลิน่า (Spirulina platensis) ต่อการเจริญเติบโต และอัตราการรอดตายของปลาอีกง (Mystus gulio)
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2014)การศึกษานี้เป็นการศึกษาผลของสาหร่ายสไปรูลิน่าผงที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและอัตรา การรอดตายของปลาอีกง ทดลองแบบสุ่มตลอด (CRD) 4 ชุดการทดลอง ชุดการทดลองละ 3 ซ้้า เลี้ยงปลาน้ำหนักเริ่มต้น 0.66±0.03 กรัม ที่ความหนาแน่น 30 ... -
ผลของไคโตโอลิโกแซคคาร์ไรด์จากเปลือกกุ้งต่อการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2014)ศึกษาผลของไคโตโอลิโกแซคคาไรด์จากเปลือกกุ้ง 3 ชนิด คือ เปลือกกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei) เปลือกกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon) และเปลือกกุ้งก้ามกราม (Macrobrachium rosenbergii) ต่อการยับยั้งเชื้อ Vibrio parahaemolyticus, ...