Search
Now showing items 1-20 of 85
พระอุโบสถและพระวิหารสมัยอยุธยาตอนปลาย-รัตนโกสินทร์ตอนต้น ในพื้นที่คลองอ้อมนนท์ จังหวัดนนทบุรี
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2558)
งานวิจัยฉบับนี้มุ่งเน้นการศึกษาถึงรูปแบบและวิธีการสร้างสรรค์ รวมทั้งหน้าที่การใช้
งานของ พระอุโบสถและพระวิหารสมัยอยุธยาตอนปลายถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้นในพื้นที่คลองอ้อม
นนท์ จ.นนทบุรี โดยศึกษาทั้งข้อมูลจากงานสถาปัตยกรรมและ ...
การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความคลาดเคลื่อนในส่วนของงบประมาณชั่วคราว
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559)
การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความคาดเคลื่อนในส่วนของงบประมาณชั่วคราวที่เกิดขึ้นในโครงการก่อสร้างอาคารชุดพักอาศัยที่เป็นอาคารสูงในพื้นที่กรุงเทพมหานครซึ่งเป็นกลุ่มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่ ...
ลวดลายประดับตำหนักใหญ่วังบางขุนพรหมในกระแสความนิยมตะวันตกในสมัยรัชกาลที่ 5
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาแนวคิดการออกแบบลวดลายบนตำหนักใหญ่ วังบางขุนพรหม ซึ่งถือได้ว่าเป็นอาคารที่ปรากฏงานศิลปกรรมแบบตะวันตกที่สำคัญและงดงามที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทยโดยทำการวิเคราะห์หลักฐานเอกสารร่วมกั ...
สถาปัตยกรรมเรือนอาศัยที่สัมพันธ์กับการแปรเปลี่ยนของวิถีชีวิต : พื้นที่ศึกษาบ้านปลาค้าว ตำบลปลาค้าว อำเภอเมือง จังหวัดอำนาจเจริญ
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2558)
ในช่วงกว่า 2 ทศวรรษที่ผ่านมาประเทศไทยของเราได้เกิดเหตุการณ์และปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมและการเมืองอย่างกว้างขวาง อีกทั้งเกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านสภาพเศรษฐกิจของโลกในเวลาพร้อมๆกันและจากสภาพการณ์ ...
วิเคราะห์แนวทางการสร้างงานศิลปกรรมที่ได้รับการอุปถัมภ์ โดยสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค): กรณีศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559)
การศึกษาครั้งนี้มุ่งศึกษาถึงแนวทางการสร้างงานสถาปัตยกรรมภายใต้การอุปถัมภ์ของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ประเภทวัด จำนวน 3 วัดในเขตพื้นที่ฝั่งธนบุรี และจังหวัดราชบุรี ได้แก่
1. วัดบุปผารามวรวิหาร ...
กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ศิลปินอิสระผ่านสื่อโซเชียลเน็ตเวิร์ค : กรณีศึกษาเว็บไซต์ยูทูป
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559)
ในการศึกษาวิจัยในเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)เพื่อศึกษาคุณสมบัติของศิลปิน ที่ประสบความสำเร็จพร้อมทั้งรวบรวมปัญหาและอุปสรรคที่พบจากการประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางเว็บไซต์ยูทูป 2)เพื่อศึก ...
การประพันธ์เพลงโดยการผสมผสานระหว่างดิเกร์ฮูลูและเร็กเก้ดั๊บ
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559)
งานวิจัยชิ้นนี้ผู้วิจัยมีวัตถุประสงค์ที่จะประพันธ์เพลงโดยการนำจังหวะของดนตรี ดิเกร์ฮูลูมาเป็นพื้นฐานในการพัฒนาและขยายจังหวะเพื่อให้เกิดจังหวะใหม่ในบทประพันธ์ และผสมผสานจังหวะของดนตรีดิเกร์ฮูลูที่ได้จากการพัฒนาเข้ากับดนตร ...
การศึกษาการแสดงเดี่ยวกีตาร์คลาสสิก ระดับปริญญามหาบัณฑิต
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559)
งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาทดลองหาวิธีแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในเพลง ต่าง ๆ ให้เหมาะสม โดยได้หยิบยกเพลงที่นํามาวิจัย 4 เพลง ได้แก่ 1. บทเพลง ชาโคน จาก ไวโอลิน พาร์ติตา หมายเลข 2 บีดับเบิลยูวี ...
โครงการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ช่วยสร้างแรงจูงใจในการรับประทานยาชนิดน้ำสำหรับเด็ก 2-4 ปี
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาปัญหาพฤติกรรมของการรับประทานยาชนิดน้ำและพฤติกรรมในด้านการรับรู้หรือเรียนรู้ของเด็กในช่วงกลุ่มอายุระหว่าง 2 – 4 ปี 2) เพื่อออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ช่วยสร้างแรงจูงใจในการรับประทานยาชนิดน้ำ ...
การสำรวจภูมิทัศน์ทางดนตรีบนถนนข้าวสาร
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559)
งานวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภูมิทัศน์ทางเสียงและความเป็นมาของดนตรีบนถนนข้าวสารตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ผลการวิจัยพบว่าถนนข้าวสารประกอบด้วยวัฒนธรรมเสียงและความบันเทิงหลายประเภท แต่สิ่งที่เห็นได้เด่นชัดที ...
เสียงและความสงบในสถาปัตยกรรม
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559)
มนุษย์สามารถดำเนินชีวิตอยู่ในพื้นที่หนึ่งๆ โดยอาศัยประสาทการรับรู้ต่างๆ ผ่านสัมผัสทางร่างกาย เช่น การมองเห็น การสัมผัส หรือการได้กลิ่น เป็นต้น เพื่อรับรู้สิ่งที่เกิดขึ้นในสภาพแวดล้อม แล้วจึงเกิดการปฏิสัมพันธ์ต่อพื้นที่ขึ้นมา ...
บทบาทของดนตรีในการต่อสู้ภาคประชาชน : กรณีศึกษาวงคีตาญชลี
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559)
การวิจัยเรื่อง บทบาทของดนตรีในการต่อสู้ภาคประชาชน : กรณีศึกษา วงคีตาญชลี มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาประวัติและพัฒนาการของวงคีตาญชลี 2. เพื่อศึกษาบทบาทของดนตรีในการต่อสู้ภาคประชาชนกรณีศึกษาวงคีตาญชลีเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ...
การสร้างสรรค์พลังของแสงและสีที่ส่งผลต่อความรู้สึก
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559)
แสงและสีอยู่รอบตัวเรามีอิทธิพลต่อชีวิตของมนุษย์ทั้งทานด้านร่างกายและจิตใจเชื่อมโยงความความคิด กับจินตนาการ ส่งผลต่ออารมณ์ และให้ความรู้สึกนำไปสู่สุนทรียภาพ การมองเห็นรูปแบบการเปลี่ยนแปลงของแสงและสีนั้นก่อให้เกิดความรู้สึ ...
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแข็งของชุมชนกับคุณภาพสิ่งแวดล้อม : กรณีศึกษาตำบลเกษตรพัฒนา อำเภอบ้านแพ้ว และตำบลบ้านเกาะ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559)
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแข็งของชุมชนว่ามีผลต่อระดับคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างไร โดยใช้พื้นที่ ตำบลเกษตรพัฒนา อำเภอบ้านแพ้ว และตำบลบ้านเกาะ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร เป็นกรณีศึกษา ...
การออกแบบอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงไทยอย่างยั่งยืน
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559)
การวิจัยนี้ ว่าด้วยการศึกษาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมในบริเวณ 8 จังหวัดของไทย ที่มีพื้นที่ติดแม่น้ำโขง เริ่มต้นตั้งแต่จังหวัดเชียงราย เลย หนองคาย บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี เพื่อนำมาซึ่งฐานองค์ความรู้ต่อย ...
ลักษณะพื้นที่กึ่งสาธารณะและพื้นที่สาธารณะที่แสดงถึงอัตลักษณ์ชุมชนอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559)
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะพื้นที่กึ่งสาธารณะและพื้นที่สาธารณะที่แสดงถึงอัตลักษณ์ชุมชนอัมพวา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1. แบบบันทึกและสำรวจลักษณะกายภายของพื้นที่ 2. แบบสัมภาษณ์ บุคคลสำคัญในชุมชน ...
แสงสีฟ้า : ภัยร้ายไร้รูปร่างแห่งเทคโนโลยี
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559)
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีแห่งโลกยุคไร้พรมแดนหรือยุคโลกาภิวัตน์เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้รูปแบบการใช้ชีวิตของมนุษย์ยุคปัจจุบันต้องปรับเปลี่ยนบริบทแห่งการดำเนินชีวิตไปโดยปริยาย ดังที่เคยมีเพียงปัจจัยหลักทั้ง 4 คือ อาหาร ...
แสง สี ในสังคมร่วมสมัย
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559)
ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีคือส่วนสำคัญที่ทำให้สังคมเกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบโครงสร้าง ความคิดและพฤติกรรมของมนุษย์ สะท้อนให้เห็นว่าเทคโนโลยีคือสิ่งที่กำหนดควบคุมชีวิตและสังคมเราได้ สร้างโลกขึ้นมาใหม่ไม่ใช่เพียงแค่วัตถุเท่านั้น ...
ยางโยงใยชีวิต
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559)
วิถีชีวิตการประกอบอาชีพหลักของคนภาคใต้คือการทำสวนยางพารา การกรีดยางเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ต้องใช้ความมานะอุตสาหะ อดทนรอน้ำยางจากต้นยางพารา “ยาง” คือวิถีชีวิตที่มีความผูกพันกับคนใต้ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งเสียชีวิต ...
การเปรียบเทียบประติมากรรมนามธรรมของ วลาดิเมียร์ ทาทลิน กับ นวม กาโบ
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559)
การศึกษาครั้งนี้เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบและจัดกลุ่มประติมากรรมนามธรรมของ วลาดี เมียร์ ทาทลิน (ค.ศ. 1885-1953) และ นวม กาโบ (ค.ศ.1890-1977) ที่เป็นศิลปินในยุคของการปฏิวัติรัสเซีย (ค.ศ. 1917) โดยมีกลุ่มศิลปะลัทธิ “คอนสตรัคติวิสม์” ...