Browsing by Author "เชษฐ์ ติงสัญชลี"
Now showing items 1-19 of 19
-
The Analysis of An Ayutthaya Scroll Depicting Funeral Procession and Royal Crematorium of Dresden State Art Collections
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: ThesisPrachaya LERDKITJANUWAT; ปรัชญา เลิศกิจจานุวัฒน์; Chedha Tingsanchali; เชษฐ์ ติงสัญชลี; Silpakorn University. Archaeology (Silpakorn University, 25/11/2017)The objective of research is to examine scroll depicting funeral procession and royal crematorium of Dresden state art collections by comparison of paintings dating at the end of Ayuddhaya period as well as the painting ... -
Analysis of Kyaung Patterns, Kyaung Kam and Meung Pon Temple in Mae Hong Son Province
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: ThesisPhattasiri PHATTHRAJIRANPONG; ภัทรสิริย์ ภัทรจิรัณพงศ์; CHEDHA TINGSANCHALI; เชษฐ์ ติงสัญชลี; Silpakorn University. Archaeology (Silpakorn University, 17/8/2018)This independence study aimed to analysis of Kyaung patterns, to make a comparison between Kyaung Kam and Meung Pon Temple in Mae Hong Son Province. The purpose of this study were as follows: (1) to study of Kyaung patterns, ... -
ANIMAL SIGNS IN THAI ASTROLOGY AND INFLUENCE IN THAI ARTS
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: ThesisMathee ONGSIRIPORN; เมธี องค์ศิริพร; CHEDHA TINGSANCHALI; เชษฐ์ ติงสัญชลี; Silpakorn University. Archaeology (Silpakorn University, 12/6/2020)This independent study aims to study the origin of animal signs in Thai astrology and its influence in Thai arts by studying Thai astrology and other associated beliefs with related arts to demonstrate the dynamic of beliefs ... -
Art historic tourism in Muang Lamphun district of Lamphun province.
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: ThesisChawalit DUANGTAWEE; ชวลิต ดวงทวี; CHEDHA TINGSANCHALI; เชษฐ์ ติงสัญชลี; Silpakorn University. Archaeology (Silpakorn University, 12/6/2020)Abstract This thesis is to study and examine the media providing the information of the historic in Mueang Lamphun District, Lamphun Province, and research on art history for the accurate academic validity. And to create ... -
ASTRONOMY : FINE ARTS, CONCEPT AND BELIEF IN THAILAND
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: ThesisTuptiwat SANGDEE; ทัพพ์ทิวัตถ์ แสงดี; CHEDHA TINGSANCHALI; เชษฐ์ ติงสัญชลี; Silpakorn University. Archaeology (Silpakorn University, 12/7/2019)This research aims to study the patterns, the origins, and the beliefs of the samples of the arts that relate to stars and astronomy which found in Thailand before the 19 Century B.E. to Rattanakosin period, and the arts ... -
FINE ART FOR BUDDHISM IN SONGKHLA PROVINCE DURING 15th to 20th CENTURY A.D.
Collection: Theses (Ph.D) - Art History / ดุษฎีนิพนธ์– ประวัติศาสตร์ศิลปะType: ThesisChen PECHARAT; เชน เพชรรัตน์; CHEDHA TINGSANCHALI; เชษฐ์ ติงสัญชลี; Silpakorn University. Archaeology (Silpakorn University, 18/6/2021)This research has an important aim to study on beliefs, sources, and inspirations that caused to Buddhist fine arts which were built in Songkhla province during the 15 th to 20 th century A.D. According to this study found ... -
A study and compare the Amrapura – Mandalay’s sculpture which influenced the sculpture at Chiangmai
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: ThesisNaharutai PENGKAEW; ณหฤทัย เพ็งแก้ว; Chedha Tingsanchali; เชษฐ์ ติงสัญชลี; Silpakorn University. Archaeology (Silpakorn University, 21/11/2017)From the study of sculpture from group of Burma’s pagoda in Chiangmai can tell about sculpture pattern which found also Amrapura – Mandalay’s Art and ฺBurmese artist in Chiangmai . The kala face with arms motif and the ... -
การวิเคราะห์การแสดงวิตรรกมุทราสองพระหัตถ์ของพระพุทธรูปในศิลปะทวารวดี
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesisเชษฐ์ ติงสัญชลี; Chedha Tingsanchali (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2001)การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อคลี่คลายปัญหาเกี่ยวกับ “ที่มา” และ “ความหมาย” ของการแสดงวิตรรกมุทราสองพระหัตถ์สำหรับพระพุทธรูปในศิลปะทวารวดี ซึ่งทั้งประเด็น “ที่มา” และ “ความหมาย” ของการแสดงมุทราดังกล่าวนี้ ... -
การศึกษาปยาธาตุแบบอิทธิพลศิลปะตะวันตกอุโบสถวัดศรีบุญเรือง อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
Collection: Theses (Bachelor's degree) - Art History / สารนิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesisชยพล รัศมี (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2016)รายงานการศึกษาเฉพาะบุคคลฉบับนี้เป็นการศึกษารูปแบบงานสถาปัตยกรรมจากอิทธิพลภายนอก จากอุโบสถวัดศรีบุญเรือง อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน โดยศึกษาจากองค์ประกอบต่างๆ ของอาคาร ได้แก่ รูปแบบหลังคา ตัวอาคาร วัสดุ การประดับตกแต่ง ... -
การศึกษารูปแบบและประติมานวิทยาของประติมากรรมปรัศวนาถ ศาสนาเชน ในศิลปะอินเดีย
Collection: Theses (Bachelor's degree) - Art History / สารนิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesisหทัยชนก ขำยิ่งเกิด (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2015)การศึกษาในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบของประติมานวิทยา จากแหล่งที่มาของประติมานวิทยาโดยเปรียบเทียบจากประติมากรรมจากสองศิลปะในอินเดีย เพื่อทำการสรุปข้อมูลเรื่องพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของประติมานวิทยาปรัศวนาถพอสั ... -
การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบและหน้าที่การใช้งานบ่อน้ำขั้นบันไดกรณีศึกษาในรัฐคุชราต รัฐราชสถานและเมืองเดลี ประเทศอินเดีย
Collection: Theses (Bachelor's degree) - Art History / สารนิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesisนทีพร สีงาม (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2015)การศึกษารูปแบบและหน้าที่การใช้งานของอ่างเก็บน้าที่มีรูปแบบพิเศษเฉพาะตัวบริเวณภาคตะวันตกของประเทศอินเดียเพื่อทาหาว่ารูปแบบของอ่างเก็บน้านั้นๆสามารถบ่งบอกหน้าที่การใช้งานของตัวมันเองได้หรือไม่ จากการศึกษาสามารถตั้งประเด็น ... -
การออกแบบฐานข้อมูลทางประวัติศาสตร์ศิลปะ : กรณีศึกษาการพัฒนาฐานข้อมูลเจดีย์ในศิลปะอยุธยา
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesisทิพารัตน์ ปิลันธศุกล (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2016)การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและออกแบบระบบฐานข้อมูลทางประวัติศาสตร์ศิลปะ: เจดีย์ในศิลปะอยุธยา ที่สามารถแสดงผลข้อมูลได้สอดคล้องตามแนวคิดทางประวัติศาสตร์ศิลปะ ใช้เก็บข้อมูลเจดีย์ในศิลปะอยุธยาได้อย่างเป็นระบบ ... -
การแพร่หลายของการัณฑมกุฏ ในศิลปะอินเดียและเอเชียอาคเนย์
Collection: Article - Art History / บทความทางวิชาการ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Articleเชษฐ์ ติงสัญชลี (คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2008-07)การัณฑมกุฏ อันเป็นมงกุฎรูปแบบหนึ่งซึ่งมีลักษณะคล้ายหม้อซ้อนกันขึ้นไปนั้น เป็นมงกุฎประเภทหนึ่งซึ่งได้รับความนิยมในศิลปะอินเดียมาก่อน เกิดขึ้นครั้งแรกในศิลปะปัลลวะก่อนที่จะได้รับความนิยมในศิลปะโจฬะและยังแพร่ไปยังศิลปะปาละอีกด้วย ... -
จิตรกรรมฝาผนังในจังหวัดสมุทรสงครามกับภาพสะท้อนความคิดช่างสมัยรัตนโกสินทร์
Collection: Theses (Ph.D) - Art History / ดุษฎีนิพนธ์– ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesisอำพล คมขำ; Amphol Komkham (Silpakorn University, 17/8/2018)This dissertation aimed at examining artistic styles, meanings, beliefs, concepts and expressions of historical and cultural context through the Rattanakosin mural paintings in Samut Songkhram province. Here are the five ... -
ที่มาและความหมายของโพธยาครีมุทราในพุทธศิลป์ญี่ปุ่น
Collection: Theses (Bachelor's degree) - Art History / สารนิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesisณัฐนนท์ วิริยะวิทย์ (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2015)การศึกษานี้เป็นการศึกษาเพื่อให้ทราบถึงที่มา ความหมาย และการใช้งาน ของโพธยาครีมุทราซึ่งเป็นที่นิยมใช้งานอย่างมากในพุทธศิลป์ญี่ปุ่น จากการศึกษาพบว่า โพธยาครีมุทรานั้น อาจจะมีต้นกาเนิดอยู่ในอาณาจักรจีนสมัยราชวงศ์ถัง ... -
พระอินทร์ในคติพุทธศาสนานิกายเถรวาทที่พบในงานศิลปกรรมไทย
Collection: Theses (Ph.D) - Art History / ดุษฎีนิพนธ์– ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesisศรัณย์ มะกรูดอินทร์ (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559)วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคติความเชื่อ รูปแบบ ลักษณะทางประติมานวิทยาของพระอินทร์ในคติพุทธศาสนานิกายเถรวาทที่พบในประเทศไทย เปรียบเทียบกับพระอินทร์ในอินเดีย และเอเชียอาคเนย์ โดยเฉพาะในพื้นที่ที่นับถือพุทธศ ... -
รูปแบบหัวโขนจากอดีตจนถึงปัจจุบัน สกุลช่างครูชิต แก้วดวงใหญ่
Collection: Theses (Bachelor's degree) - Art History / สารนิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesisเกื้อกมล ศรีสำอางค์ (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2013)หัวโขนเป็นงานประณีตศิลป์ ที่รวบรวมฝีมือของช่างสิบหมู่ไว้อย่างครบถ้วน ผู้ที่จะสร้าง สร้างสรรค์งานขึ้นมาได้ จึงไม่เพียงต้องมีความสามารถในเชิงช่างต่าง ๆ อย่างครบถ้วน หากแต่ต้องมีความรู้ความเข้าใจในหลักสุนทรียศาสตร์ ... -
รูปแบบและแนวคิดอักษรอาหรับประดิษฐ์ : กรณีศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบในเปอร์เซีย ตุรกี และอินเดีย
Collection: Theses (Bachelor's degree) - Art History / สารนิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesisนูรียา ซองเกอร์วาลา (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2015)การศึกษา “รูปแบบและแนวคิดอักษรอาหรับประดิษฐ์ กรณีศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบในเปอร์เซีย ตุรกี และอินเดีย” นั้นมุ่งเน้นการศึกษารูปแบบและการศึกษาในเชิงความสัมพันธ์ระหว่างความหมายของข้อความ ที่เกิดขึ้นในฐานะของอักษรอาหรับที่ถูกใ ... -
เทวดานพเคราะห์-พระพุทธรูปประจำวัน : ภาพสะท้อนคติความเชื่อ พิธีกรรมในสังคมไทย
Collection: Theses (Master's degree) - Art History / วิทยานิพนธ์ – ประวัติศาสตร์ศิลปะType: Thesisปิยนันท์ ชอบศิลประกอบ; Piyanant Chobsilprakob (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2014)วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีจุดมุ่งหมายในการศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการคติความเชื่อ ในการบูชาเทวดานพเคราะห์-พระพุทธรูปประจำวันสมัยรัตนโกสินทร์ โดยศึกษาผ่านการเปลี่ยนแปลงสัญลักษณ์รูปเคารพในการประกอบพิธีกรรม เท่าที่พบหลักฐานตั้งแต่อดี ...