Browsing by Title
Now showing items 5959-5978 of 14546
-
คณะโบราณคดี : ห้าปีแห่งการสังเกตุการณ์
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 1971) -
คดีพระปรีชากลการ (พ.ศ. 2421-2422) กับการเมืองภายในของไทย
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 1985) -
คติการนับถือศาสนาพราหมณ์ลิทธิไศวนิกายที่เมืองศรีเทพ
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 1984) -
คติการสร้างกลุ่มปราสาทขอมสามหลังในประเทศไทย
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2012) -
คติการสร้างพระพุทธรูปไม้ในล้านนา
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2011)พระเจ้าไม้หรือองค์พระปฏิมาที่สร้างด้วยไม้ ได้ถูกนำมาเชื่อมโยงเกี่ยวกับเรื่องของ “อานิสงส์” ซึ่งหมายถึงผลแห่งกุศลกรรม หรือประโยชน์อันจะได้รับจากการได้ทำบุญหรือได้สร้างประโยชน์ไว้ ชาวล้านนามีความเชื่อว่าการทำบุญทำกุศล ... -
คติการสร้างเมืองเชียงใหม่ในวัฒนธรรมล้านนา
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2003)การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงคติสัญลักษณ์ กระบวนการออกแบบ และความสัมฤทธิ์ ผลของการออกแบบเมืองเชียงใหม่ตามขอบเขตพื้นที่เวียง รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่ล้อมด้วยคูน้ำ และพื้นที่ล้อมรอบรูปวงโค้งภายใต้วัฒนธรรมล้านนา ... -
คติการสร้างเมืองเชียงใหม่ในวัฒนธรรมล้านนา
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2003)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงคติสัญลักษณ์ กระบวนการออกแบบ และความสัมฤทธิ์ผลของการออกแบบเมืองเชียงใหม่ตามขอบเขตพื้นที่เวียงรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่ล้อมด้วยคูน้ำและพื้นที่ล้อมรอบรูปวงโค้งภายใต้วัฒนธรรมล้านนา ... -
คติการสร้างและแนวความคิดในการออกแบบพระมหาธาตุเจดีย์ของหม่อมราชวงศ์มิตรารุณ เกษมศรี
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559)ในการศึกษาครั้งนี้จะทำการศึกษาเฉพาะพระธุตังคเจดีย์ พระมหาธาตุเจดีย์พระพุทธธรรมประกาศ พระมหาธาตุเจดีย์ศรีนครินทรา มหาสันติคีรี และพระมหาธาตุเจดีย์ภักดีประกาศ โดยศึกษาเฉพาะคติการสร้าง รูปแบบศิลปกรรม สถาปัตยกรรมและหน้าท ... -
คติความเชื่อ รูปแบบของสัตว์หิมพานต์ในงานพระเมรุมาศ
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2012)การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาที่มาของคติความเชื่อเรื่องพระเมรุมาศ คติและรูปแบบของสัตว์หิมพานต์ในงานพระเมรุตั้งแต่สมัยอยุธยาถึงรัตนโกสินทร์ รวมทั้งหน้าที่การใช้งานของสัตว์หิมพานต์ในงานพระเมรุมาศ โดยจะศึกษาผ่ ... -
คติความเชื่อ รูปแบบและการจัดวางประติมากรรมศาลเจ้า : ศาลเจ้าหน่าจาซาไท้จื้อ ตำบลอ่างศิลา อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2015)การศึกษา “คติความเชื่อ รูปแบบและการจัดวางประติมากรรมศาลเจ้า : ศาลเจ้าหน่าจาซาไท้จื้อ ตาบลอ่างศิลา อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี” นั้นมุ่งเน้นการศึกษารูปแบบและจัดวางประติมากรรมภายในศาลเจ้าหน่าจาซาไท้จื้อ ทั้งตัวองค์ประธานหลักข ... -
คติความเชื่อกับอัตลักษณ์ร่วมสมัย
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2016) -
คติความเชื่อของคนไทยสมัยสุโขทัย พ.ศ. 1726 - พ.ศ. 2006
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2007) -
คติความเชื่อของชาวจีนในสมัยรัตนโกสินทร์ : กรณีศึกษาประติมากรรมรูปเคารพ
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2010)การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประติมากรรมรูปเคารพในศาลเจ้าแต่ละแห่งเพื่อศึกษาเปรียบเทียบประติมากรรมรูปเคารพของศาลเจ้าในด้านต่าง ๆ เช่น การนับถือศาสนา ความหลากหลาย ความนิยม การให้ความสำคัญ รวมถึงศึกษาเปรียบ ... -
คติความเชื่อจากลวดลายบนตุงที่บ้านธิหลวง อำเภอบ้านธิ จังหวัดลำพูน
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2005) -
คติความเชื่อเรื่องพระราหูในวัฒนธรรมลาวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2010)วัตถุประสงค์สำหรับการค้นคว้าอิสระฉบับนี้เป็นการศึกษาคติความเชื่อเรื่องพระราหูในวัฒนธรรมลาวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทั้งนี้สืบเนื่องจากพระราหูเป็นหนึ่งในเทพนพเคราะห์อันเป็นที่รู้จักกันดีในประเทศอินเดียและปรากฏอิทธิพลในเอเ ... -
คติความเชื่อเรื่องพระสุริยะ ที่พบจากประติมากรรมที่เมืองโบราณศรีเทพ
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2000) -
คติความเชื่อเรื่องพระอินทร์ในศิลปกรรมแบบเขมรในประเทศไทย
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 1987) -
คติความเชื่อเรื่องสัตว์ที่ปรากฏในวัฒนธรรมทวารวดี
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2011) -
คติความเชื่อและภูมิปัญญาซึ่งสัมพันธ์กับการตั้งถิ่นฐาน ผังหมู่บ้านและบ้านเรือนของชุมชนชาติพันธุ์ลัวะในประเทศไทย
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2010)งานวิจัยนี้ มุ่งเน้นศึกษาด้านการจัดสรร คัดเลือกพื้นที่อยู่อาศัยและพื้นที่ทำการเกษตรกรรมในรูปแบบหมู่บ้าน การจัดวางแผนผังหมู่บ้าน รวมถึงสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นชาวลัวะ ซึ่งเป็นชาติพันธุ์ทางตอนเหนือ ที่อาศัยอยู่กันอย่างหนาแน่นใน ... -
คติความเชื่อและภูมิปัญญาซึ่งสัมพันธ์กับการตั้งถิ่นฐาน ผังหมู่บ้านและบ้านเรือนของชุมชนชาติพันธุ์ลัวะในประเทศไทย
Type: Thesis(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2010)งานวิจัยนี้มุ่งเน้นศึกษาด้านการจัดสรร คัดเลือกพื้นท่อยู่อาศัยและพื้นที่ทำเกษตรกรรมในรูปแบบหมู่บ้าน การจัดวางแผนผังหมู่บ้านรวมถึงสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นชาวลัวะ ซึ่งเป็นชาติพันธ์ทางตอนเหนือที่อาศัยอยู่กันอย่างหนาแน่นในจังหวัดน่าน ...